Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพ 1 - Coggle Diagram
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพ 1
ความหมายของพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการรักษาโรค
พฤติกรรมสุขภาพ คือ ความเชื่อ ความคาดหวัง การให้คุณค่า การรับรู้ ของบุคคล ซึ่งแสดงออกในรูปแบบแผนการปฏิบัติหรือนิสัยในการทำกิจวัตร
ประเภทของพฤติกรรม
พฤติกรรมด้านเจตพิสัย
(Affective Domain)
การให้ค่า
การจัดกลุ่มค่า
การตอบสนอง
การแสดงคุณลักษณะตามค่านิยมที่ยึดถือ
การรับ
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
(Psychomotor Domain)
เป็นพฤติกรรมขั้นสุดท้ายที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
ประเมินง่าย แต่กระบวนการในการทำให้เกิดยาก
พฤติกรรมด้านพุทธพิสัย
(Cognitive Domain)
การประยุกต์หรือการนำเอาความรู้ไปใช้
การวิเคราะห
ความเข้าใจ
การสังเคราะห์
การรู้
การประเมินผล
ความหมายของ
พฤติกรรมผู้บริโภค
หมายถึงพฤติกรรมของบุคคลในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการ โดยแบ่งออกเป็น 4 ข้อ
สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากสินค้า
สิทธิที่จะไม่ถูกบังคับให้บริโภคเนื่องจากการผูกขาด
สิทธิที่จะได้รับทราบความเป็นจริงและความเป็นธรรม ไม่ถูกเอาเปรียบ หลอกลวงจากการโฆษณา
สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาโดยเร็วเมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม
องค์ประกอบของ
พฤติกรรมสุขภาพ
ความเชื่อ(B = Belief)
ค่านิยม(V = Value)
ความรู้(K = Knowledge)
ความคิดเห็น(O = Opinion)
ทัศนคติหรือเจตคติ(A =Attitude)
การรับรู้(P = Perception)
แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม
ความหมายของพฤติกรรม
สิ่งที่บุคคลสมัครใจจะกระทำหรือละเว้นการกระทำ (Gochman,1988)
ปฏิกิริยาหรือกิจกรรมทุกอย่างของสิ่งมีชีวิต (Twaddle,1981)
เป็นกิจกรรมทุกอย่างที่มนุษย์กระทำเป็นลักษณะการแสดงออกที่สังเกตเห็นได้ (เอื้อมพร ทองกระจาย, 2540)
องค์ประกอบของพฤติกรรม
2.ทางสติปัญญา ( Intellience )
3.ทางอารมณ์( Emotional )
1.ทางกาย( Physical )
4.ทางสังคม ( Social )
ปัจจัยที่มีผลกับพฤติกรรมสุขภาพ
สัญชาตญาณ (Instincts)
ความต้องการ (Needs)
บุคลิกลักษณะ(Personality)
จิตวิทยาเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคสินค้าสุขภาพ
เมื่อเจ็บป่วย บุคคลจะปฏิบัติตัวแตกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบหลายอย่าง เช่น
ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ปัจจัยภายในตัวบุคคล
พฤติกรรมการบริโภคตามความพอใจ
พฤติกรรมการบริโภคด้วยเหตุผลและความจำเป็น
ปัจจัยภายนอกตัวบุคคล
ทางด้านเศรษฐกิจและการศึกษา
ทางด้านการเมือง
ปัจจัยทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
ทางด้านเทคโนโลย
ทางกายภาพ