Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย - Coggle Diagram
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางวัฒนธรรม (Cultural)
ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technological)
ปัจจัยทางกายภาพ (Physical)
ปัจจัยด้านขบวนการสังคม (Social Movement)
ปัจจัยทางประชากร (Population)
ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological)
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological)
ปัจจัยอื่น ๆ (Other) นอกเหนือจากที่กล่าวมา
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องมีในการสร้างความเปลี่ยนแปลง
ปัญหาอันเป็นผลต่อเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาความไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลง
แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
นิสเบท
การเปลี่ยนแปลงเป็นการต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงเป็นอยู่ตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็น
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
สังคมอุตสาหกรรม
สังคมแห่งเทคโนโลยี
สังคมเกษตรกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปัจจัยภายใน
ความสมมาตร (Symmetry)
ความประหยัด
ปัจจัยภายนอก
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
การปฏิรูปการศึกษา สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
ระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีการพิมพ์
ภาษาไทยยุคใหม่กับโลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
เปลี่ยนแปลงในลักษณะของการออกเสียง คำศัพท์ รูปแบบ
และลักษณะอื่นอื่นตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไป
การตอบสนองความต้องการของมนุษย์เพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
การเปรียบเทียบวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ซับซ้อน
กับวัฒนธรรมภาษาดั้งเดิมของไทยซึ่งสลับซับซ้อน
ความเจริญทางเทคโนโลยีที่เข้ามา
การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตกหรือวัฒนธรรมสมัยใหม่
ความเจริญทางด้านสังคมและชุมชนต่าง ๆ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน
ความอยู่รอดของภาษาไทยในยุคดิจิตอล
ปลุกจิตสำนึกในการหวงแหนภาษาไทยและรู้กาลเทศะการใช้ภาษาไทย
เปลี่ยนแปลงตัวเอง
ปลูกฝังวัฒนธรรมรักการอ่าน
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา
สม่ำเสมอ (Consistent)
จากประเภท (Type) หนึ่งไปสู่อีกประเภทหนึ่ง
ค่อยเป็นค่อยไป (gradual)
ผู้ใช้ภาษาอาจไม่รู้ตัว (Unconscious)
เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
ภาษาไทยในยุค 4.0
การเปลี่ยนแปลง
การขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี
ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
จากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น
จากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม”
รูปแบบ
ภาษาไทย 2.0
อธิบายภาษาไทยโดยอาศัยโครงสร้างของภาษาอังกฤษตามแบบสยามไวยากรณ์
ภาษาไทย 3.0
สอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ภาษาไทย 1.0
มุ่งเน้นที่การอ่าน การเขียน และการแต่งคำประพันธ์
ภาษาไทย 4.0
ภาษาไทยที่ทำให้คนไทยสามารถเข้าใจ มีการปรับตัว รับความคิดใหม่ ๆ
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
ความหมายการเปลี่ยนแปลง
ภาวะและปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันตลอดเวลา
จะมีความแตกต่างกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยทางวัฒนธรรม
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางสังคม
ปัจจัยทางการเมือง
ปัจจัยทางธรรมชาติ
ปัจจัยภายนอก
การติดต่อระหว่างสังคมที่หลากหลาย
การกระทบกระทั่งระหว่างสังคม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความทันสมัย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นอุตสาหกรรม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นเมือง
กระบวนการเปลี่ยนไปสู่ระเบียบบริหารแบบราชการ