Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตเวชฉุกเฉิน (Psychiatric Emergency) - Coggle Diagram
จิตเวชฉุกเฉิน
(Psychiatric Emergency)
ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช
สถานการณ์ของความแปรปรวนอย่างเฉียบพลันของ
:explode:
ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม
ที่เกิดขึ้นโดยเฉียบพลันหรือรุนแรง จำเป็นต้องรักษาทันที
ผู้ป่วยฉุกเฉินทางจิตเวช
ผู้ที่มีความแปรปรวนของความคิด การรับรู้ อารมณ์ พฤติกรรมในระดับรุนแรง ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน
:star: เป้าหมาย
หลัก
รักษาความปลอดภัยของชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้าง
รอง
ช่วยเหลือให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับภาวะอารมณ์ของตนเองได้
การประเมินความฉุกเฉิน :!!:
มีพฤติกรรมรุนแรง ทำร้ายตนเอง ผู้อื่น หรือทำลายทรัพย์สิน
ตะโกนเสียงดัง รบกวนบุคคลอื่น
มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ทำให้บุคคลอื่นตื่นกลัว
มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
ควบคุมพฤติกรรมตนเองไม่ได้
หลีกเลี่ยงการตอบคำถาม และพยายามหนีจากเหตุการณ์
มีอาการด้านร่างกายที่แสดงว่าเจ็บป่วยกะทันหัน สัญญาณชีพผิดปกติ และมีพฤติกรรมแปลกไป
การประเมินสภาพจิต
พฤติกรรมและลักษณะท่าทาง
Orientation
อารมณ์
เนื้อหาและกระบวนการคิด
การรับรู้
ความจำ
การสื่อสารในภาวะฉุกเฉิน
เทคนิคขอความกระจ่าง (Clarification)
การใช้ตัวอย่างเพื่อเข้าใจตรงกัน
ใช้คำถาม
การทวนความ
สะท้อนคำพูด ความรู้สึก
การสรุปความ
การสังเกตการสื่อสารที่ไม่ใช่คำพูด
การเงียบ
ลักษณะทั่วไป
หลบตาระหว่างสนทนา
รักษาระยะห่างอย่างคงที่
การเปลี่ยนแปลงของน้ำเสียง
การจำแนกสภาพความฉุกเฉินและการจัดลำดับความสำคัญ
เร่งด่วนฉุกเฉิน (Urgent)
สภาพเร่งด่วนที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างใดอย่างหนึ่ง
เร่งด่วน (Acute)
สภาพความเร่งด่วนที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือทันทีภายในนาที
ไม่เร่งด่วน (Non acute)
สภาพที่ไม่เร่งด่วน สามารถรอเวลาเพื่อสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงได้
ส่งต่อ (Refer)
ผู้รับบริการที่ควรส่งไปรับบริการจากแหล่งที่มีบริการรักษาและช่วยเหลือเฉพาะทาง
หลักปฏิบัติในการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน
ประเมินสภาพผู้ป่วยในภาวะเร่งด่วน
ทำความเข้าใจพฤติกรรมการแสดงออกของผู้ป่วย
ให้ความสำคัญกับความต้องการของญาติ
ให้ความช่วยเหลือเท่าที่จำเป็น
ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน
Acute Psychosis
Acute Anxiety
Acute Mania
Organic Brain Syndrome
Depress, Suicide
Side Effect จาก Antipsychotic
จิตเวชฉุกเฉินในเด็ก
คุณลักษณะของ
พยาบาลจิตเวชฉุกเฉิน
มีความตื่นตัวในการช่วยเหลือและปฏิบัติได้คล่องแคล่วว่องไว
แสดงถึงความเต็มใจที่จะจัดการกับภาวะเสี่ยง และมุ่งมั่นจนเกิดผลสำเร็จ
ท่าทางสงบ สุขุม รอบคอบในการควบคุมสถานการณ์ฉุกเฉิน
เข้าใจเจตนาตนเองในการกระทำและเชื่อมั่นในการเลือกใช้วิธีที่ดีที่สุดในการปฏิบัติการ
สามารถแยกปัญหาฉุกเฉินที่แท้จริงออกจากสถานการณ์วิกฤตที่ดำเนินอยู่ได้
:warning:
ปัญหาทาง
จิตเวชฉุกเฉิน
อาการเพ้อ (Delirium)
พบในกลุ่มอาการทางสมองเฉียบพลัน มีภาวะสับสน การรับรู้วัน เวลา สถานที่ มีหลงผิด ประสาทหลอน
:red_flag:
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยในที่สงบ
จำกัดคนเข้าเยี่ยม
พิษสุราเรื้อรัง (Delirium Tremens)
:red_flag:
การพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมอากาศถ่ายเท
จำกัดคนเยี่ยมในระยะเฉียบพลัน
ป้องกันทำร้ายตนเองและผู้อื่น
ดูแลให้สารน้ำ อิเล็คโตรไลท์
ผู้ใช้สารกลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น (Opiate)
อนุพันธ์ฝิ่น เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน
อาการ
: ง่วงซึม หมดสติ ชีพจรและหายใจช้า BP ลด รูม่านตาหดตัว
:red_flag:
การพยาบาล
ตรวจสอบ V/S
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ถ้าจำเป็นอาจจะต้องผูกยึดผู้ป่วย
อาจมีการสำลัก อาเจียนร่วมด้วย ต้องดูแลสุขภาพ
ปากและฟันและป้องกันการสำลักลงหลอดลม
Overdose ให้ Naloxone
Withdrawal ให้ Methadone
ผู้มีพฤติกรรมรุนแรง (Violent behavior)
พฤติกรรมที่พบบ่อย
เช่น หงุดหงิด ไม่เป็นมิตร อยู่นิ่งไม่ได้ คิดอาฆาต ทำร้ายตนเอง พูดคำหยาบ สูญเสียการตัดสินใจ ทำร้ายสิ่งของ ชกต่อย ทุบตี
พฤติกรรมรุนแรง
ได้แก่
นั่งเกร็งในท่าที่พร้อมลุกขึ้น กำมือแน่น
น้ำเสียงและคำพูด แข็งกร้าว เสียงดัง
กระสับกระส่าย อยู่ไม่ติดที่
ตื่นตระหนก ตกใจง่ายต่อสิ่งรอบข้าง
:red_flag:
การพยาบาล
การแยกหรือจำกัดบริเวณ
การผูกมัด
การใช้ยาควบคุมอาการ
การฆ่าตัวตาย (Suicide)
พฤติกรรมเสี่ยง
ได้แก่
อารมณ์เปลี่ยนแปลงจากซึมเศร้าเป็นร่าเริง หรือสลับกัน
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น แต่งกายพิถีพิถัน
มีคำพูดที่แฝงความหมายเบื้องลึก หรือเขียนจดหมายลาตาย
แววตาว่างเปล่า เงียบขรึม คอตก แยกตัว กระสับกระส่าย
การประเมินภาวะเสี่ยง
Hx.ทางจิตเวช โดยเฉพาะ Schizophrenia
และ Depression
ประวัติเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง
ซักถามถึงความคิด ความรู้สึกของผู้ป่วยในขณะนั้น
:red_flag:
การพยาบาล
ให้การพยาบาลภาวะอันตราย หรือบาดเจ็บจากการฆ่าตัวตาย
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก สังเกตพฤติกรรม
และคำพูดของผู้ป่วย
สนับสนุนให้ผู้ป่วยรู้สึกมีความหวัง มีความรู้สึกที่ดีต่อตัวเอง
ปรึกษาญาติเกี่ยวกับปัญหาของผู้ป่วยและหาทางช่วยเหลือ
อุปทานหมู่ (Mass hysteria)
เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับจิตสังคม เกิดขึ้นกับบุคคลตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ในกลุ่มบุคคลที่มีความคิด ความเชื่อว่า ตนเจ็บป่วยเป็นโรคเดียวกัน จึงแสดงอาการออกมาแบบเดียวกัน
อาการ
: ปวดหัว มึนงง คลื่นไส้ ปวดท้อง
อ่อนเพลีย หายใจลำบาก ชักเกร็ง เป็นลม หมดสติ
ซึ่งอาการเหล่านี้คงอยู่
เพียงชั่วคราว
:red_flag:
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยคนแรกที่เกิดอาการออกจากกลุ่ม
ดูแลด้านร่างกายให้ผ่อนคลาย สักพักอาการจะดีขึ้น
ประเมินสภาพจิตร่วมกับสิ่งแวดล้อม
พูดคุยให้คลายความกังวลใจ
ภาวะหายใจหอบ (Hyperventilation syndrome)
เกิดจากความวิตกกังวล ความคับข้องใจในการเผชิญปัญหาขณะนั้น
-
อาการ
: แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก หัวใจเต้นแรง กล้ามเนื้อเกร็ง มือจีบ ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
:red_flag:
การพยาบาล
แสดงท่าทียอมรับในผู้ป่วย ปลอบโยน และให้ความมั่นใจ
แนะนำผู้ป่วยให้หายใจลึกๆ ช้าๆ
-ให้ยาระงับความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ค้นหาวิธีการเผชิญความเครียดที่เหมาะสม
สนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการแก้ไขพฤติกรรม
Side Effect จากยารักษาโรคจิต
:red_flag:
การพยาบาล
ปลอบโยนให้คลายความกังวล
อธิบายสาเหตุของการเกิดอาการ
ระมัดระวังอุบัติเหตุ
ให้ยาลดอาการ
อาการ
: Hypotension, Extrapyramidal Symptoms
การถูกข่มขืนกระทำชำเรา (Rape)
บุคคลใช้การบังคับคู่นอนที่ไม่เต็มใจให้มีเพศสัมพันธ์
และกระทำ โดยใช้ความรุนแรงและข่มขู่
อาการ
ด้านร่างกาย
มีบาดแผล รอยฟกช้ำ บริเวณศีรษะ ใบหน้า คอ ลำตัว และอวัยวะเพศ
ด้านจิตใจ
รู้สึกสะเทือนใจ เศร้า เสียใจ หมดหวัง หวาดผวา ตำหนิตนเอง คิดว่าตนไร้ค่า บางรายอาจคิดฆ่าตัวตาย
:red_flag:
การพยาบาล
ประเมินผู้ป่วยทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ตรวจอวัยวะเพศ ทางเดินปัสสาวะ และทวารหนัก ส่ง vaginal discharge ตรวจ acid phosphatase เพื่อหาน้ำอสุจิ
ส่งขน ผม เล็บ เศษผ้าเพื่อตรวจหา DNA
แพทย์ต้องรายงานต่อหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ให้ความคุ้มครอง
ปรึกษาจิตแพทย์ทุกราย
ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวชเด็ก
:forbidden:การฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น
มีสาเหตุหลายประการ เช่น ปัญหาครอบครัว เพื่อน การเรียน การสูญเสีย
คนรัก ทำให้รู้สึกเป็นทุกข์ แสดงพฤติกรรมรุนแรงหรือหันไปใช้ยาเสพติด
:red_flag:
การพยาบาล
ดูแลด้านร่างกาย
สังเกตอาการและระวังทำร้ายตัวเองซ้ำ
ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกและรับฟัง
ครอบครัวบำบัด
สนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมแก้ปัญหา
กรณีครอบครัวยังมีภาวะวิกฤติ ให้รับเด็กไว้ในโรงพยาบาล
:forbidden:การทำร้ายเด็ก
(Child abuse)
สาเหตุเกิดจากการถูกบิดา มารดาทำร้าย แบ่งเป็น 4 แบบ คือ ทำร้ายร่างกาย ทำร้ายจิตใจ ทำร้ายทางเพศ และทำร้ายโดย
การละเลยทอดทิ้ง
:red_flag:
การพยาบาล
ช่วยเหลือเด็กอยู่ในสถานที่ปลอดภัย
ดูแลบาดแผลทางร่างกาย
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ
ครอบครัวบำบัด
หาบ้านพักฉุกเฉินไว้สำหรับให้เด็กพักชั่วคราว
ไม่ควรกล่าวโทษหรือแสดงท่าทีรังเกียจบิดา มารดาหรือผู้เลี้ยงดู ควรให้ความสนใจดูแลไต่ถามปัญหา
:forbidden:การไม่ยอมไปโรงเรียน (School refusal)
:red_flag:
การพยาบาล
เด็กบอกอาการทางกายที่เป็นสาเหตุให้ไปโรงเรียนไม่ได้
ต้องตรวจร่างกายเพื่อค้นหาโรคทางกาย
ประเมินสภาพจิตใจเด็ก
หาบุคคลที่มีส่วนร่วมในการรักษาพยาบาล เช่น
ครูประจำชั้น หรือนักสังคมสงเคราะห์
อธิบายให้ครอบครัวทราบถึงผลเสียจากการขาดโรงเรียน
ให้กำลังใจ สนับสนุนแก่เด็ก บิดา มารดา และครู
ติดตามการช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
บางรายอาจต้องให้จิตบำบัด