Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต (Behavior), image, image, image, image, image,…
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
(Behavior)
พฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำเนิด
(inherited behavior)
พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดในพืช
เป็นพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำเนิด ทั้งสิ้น เนื่องจากพืชไม่มีระบบประสาท จึงไม่มีการเรียนรู้เหมือนสัตว์
พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดในสัตว์ และโพรทิสต์
ไคนีซิส (kinesis)
เป็นการเคลื่อนที่ซึ่งไม่มีทิศทางไม่แน่นอน
รีเฟล็กซ์ (reflex) ตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากภายนอกที่มากระตุ้นอย่างทันทีทันใด
แทกซีส (taxis) สิ่งมีชีวิตที่มีหน่วยรับความรู้สึกที่มีประสิทธิภาพดีพอที่จะสามารถรับรู้และเปรียบเทียบสิ่งเร้าได้
รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) เดิมเรียกว่า สัญชาตญาณ
พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behavior หรือ Acquired behavior)
การฝังใจ (imprinting) ทำงานร่วมกันระหว่างพันธุกรรมและการเรียนรู้
ความเคยชิน (habituation) การตอบสนองของสัตว์ต่อสิ่งเร้าใดๆ ที่ไม่มีผลอะไรสำหรับมันที่เกิดซ้ำซาก
การมีเงื่อนไข (conditioning) แสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิดที่มากระตุ้นตามลำดับ
การลองผิดลองถูก (trial and error learning)สัตว์เลือกตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มีผลดี และหลีกเลี่ยงการตอบสนองที่ทำให้เกิดผลเสีย
การใช้เหตุผล (resoning) การแก้ปัญหาของลิงชิมแปนซีในการหยิบของที่อยู่ที่สูงหรือไกล
นิเวศวิทยาพฤติกรรม (Behavioral Ecology)
Behavioral rhythms
พฤติกรรมที่สัตว์แสดงเป็นประจำทุก 24 ชั่วโมง หรือทุกปี
เวลาที่ถูกต้องนการเกิด rhythmic behavior จะต้องถูกกระตุ้นโดยปัจจัยภายนอก
การอพยพ (migration)
เป็นการเคลื่อนย้ายสิ่งมีชีวิตจากประชากรแหล่งอื่นเข้ามารวมกลุ่มกับประชากรที่มีอยู่เดิมทำให้จำนวนประชากรในแหล่งนั้นเพิ่มจำนวนขึ้น
มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
พฤติกรรมการหาอาหาร (foraging behavior)
generalists เป็นสัตว์ที่กินอาหารหลายอย่าง
specialists เป็นสัตว์ที่กินอาหารเฉพาะอย่าง
พฤติกรรมสังคม (Social behavior)
พฤติกรรมการร่วมมือกัน (cooperative behavior) จะต้องมีการร่วมมือกันเพื่อทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งไม่อาจทำได้โดยลำพัง
พฤติกรรมการต่อสู้ (agonistic behavior) มักเกิดขึ้นเพื่อแย่ง resources บางอย่าง เช่น อาหาร ที่อยู่และคู่ผสมพันธุ์
การจัดลำดับความสำคัญในสังคม (dominance hierarchies) พบในสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นสังคม
พฤติกรรมการป้องกันอาณาเขต (territorial behavior) เพื่อป้องกันการโดนสัตว์อื่นบุกรุก
พฤติกรรมการสืบพันธุ์ (reproductive behavior) จะเกี่ยวข้องกับการเกี้ยวพาราสี และระบบการผสมพันธุ์