Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 พัฒนาการมนุษย์ - Coggle Diagram
บทที่ 3 พัฒนาการมนุษย์
พัฒนาการทุกช่วงวัย
คือ แบบแผนการเคลื่อนไหวการเปลี่ยนแปลงที่มีจุดเริ่มต้นมาจากการกำเนิดของชีวิตและมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตลอดช่างชีวิตของบุคคล
-
การศึกษาทางด้านพัฒนาการ
การศึกษาระยะยาว คือ การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณีเพื่อสังเกตุพัฒนาการเปรี่ยนแปลงต่อการเปรี่ยนช่วงวัยต่างๆ
การศึกษาแบบภาคตัดขวาง คือ การศึกษาวิจัยในบุคคลที่อายุแตกต่างกันนำมาเปลียบเทียบกันในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
-
-
-
วัยทารก
-
-
วัยเด็กกตอนต้น
-
พัฒนการทางด้านสังคมมีการแยกแยะต้นออกจากผู้อื่นสามารถจดจำผู้ที่อยู่ใกล้ชิดได้และยืดตนเองเป็นศูนย์กลาง
-
-
-
วัยรุ่น
-
-
พัฒนาการทางด้านจิตสังคมการสร้างความสัมพันธุ์กับกลุ่มเพื่อน การรู้จักอัตลักษณ์ การเป็นตัวเอง พฤติกรรมทางเพศ และการประสบควมสำเร็จ
พัฒนาการทางด้านร่างกาย มีระยะแตกหนุ่มสาวระบบสืบพันธุ์มีความสมบูรณ์ผลิตอสุจิ มีหนวดเครา เสียงแตก มีประจำเดือน มีเต้านม มีทรวดทรงที่สมส่วน
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
-
พัฒนาการทางด้านสังคม เป็นในรูปแบบของการแต่งงานและการมีครอบครัว การประกอบอาชีพ ความสนใจที่จะสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มเพื่อนจะลดลงส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นสัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมงาน
การเจริญเติบโตของร่างกายมีความสมบูรณ์เต็มที่ และบางส่วนของร่างกายเริ่มแสดงออกถึงความเสื่อมถอย อาทิสายตาเริ่มสูญเสียควาทมยืดหยุ่น
วัยกลางคน
พัฒนาการทางด้านเชาวน์ปัญญา ความสามารถทางด้านเชาวน์ปัญญามีประสิทธิภาพลดลง แต่มีการเพิ่มพุนทักษะการคิดทางสังคมมากขึ้น
พัฒนาาการทางด้านสังคม มีความเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตกับคู่สมรสสมาชิกภายในครอบครัว เครือญาติ และการดูแลบิดามารดาซึ่งอยู่ในวัยชรา
พัฒนาการทางด้านร่างกาย พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศในเพศหญิงจะเรียกว่า วัยหมดประจำเดือนมักจะเกิดขึ้นในช่วงอายุระหว่าง 45-55 ปี
วัยผุ้สูงอายุ
พัฒนการทางด้านสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาททางเพศ ผู้สูงอายุจะสูญเสียบทบาทหน้าที่ในการทำงานอันเนื่องจากการปลดเกษียณ และต้องปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการดำเนินชีวิตแบบใหม่
-
พัฒนาการทางด้านร่างกาย มีความเสื่อมถอยของร่างกายในทุกระบบ อาทิระบบการสัมผัส พบว่า แก้วตามีความโปร่งใสน้อยลง หนาขึ้น และยืดหดได้น้อยลง
เพศและบทบาททางเพศ
คือ ชีววิทยาเพศหญิง หรือเพศชายซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานทางพันธุศาสตร์และสรีรวิทยาทางเพศ ได้แก่ พันธุศาสตรืเพศ ซึ่งเกี่ยวข้องกับโครโมโซมและลักษณะของฮอร์โมนเพศ
รูปแบบการตอบสนองทางเพศ
ขั้นตื่นตัว ลำดับต่อไป คือ ขั้นตึงตัวทุกระบบโดยเฉพาะความตึงตัวของกล้ามเนื้ออัตราการเต้นของหัวใจถี่ขึ้นประมาร 100-160 ครั้งต่อวินาที ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น อันฑะและองคชาติเกิดการขยายตัวขึ้น ช่องคลอดขยายตัว กล้ามเนื้อตึงตัว
ขั้นพอใจสูงสุด คือ ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดของการตอบสนองความสุขทางเพสการตึงตัวเข้าสู่จุดพอใจสูงสุดส่งผลต่อร่างกายโดยรวม เพศชายจะมีการหลั่งอสุจิ ส่วนเพศหญิงจะมีการหดรัดของกล้ามเนื้อบริเวณช่องคลอดเฉลี่ยประมาณ 3-15 ครั้ง จัดเป็นปฎิกิริยาสะท้อนอัตโนมัติ
ขั้นกลับเข้าสู่สภาวะปกติ เมื่อขั้นสุดท้ายมาถึงปฎิกิริยาต่างๆจะกลับเข้าสู่สภาวะปกติทั้ง ความดันโบหิต อัตราการเต้นของหัวใจ ระดับการหายใจซึ่งทั้งสองฝ่ายเกิดความรู้สึกผ่อนคลายและพึงพอใจ
ขั้นตื่นเต้น นับเป็นขั้นตอนแรกของการตอบสนองความสุขทางเพศที่เริ่มต้นขึ้นบุคคลจะได้รับรับการกระตุ้นจากทางสรีระและจิตวิทยาก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรขึ้น
-
ทฤษฎีบทบาททางเพศ
ทฤษฎีโครงสร้างบทบาททางเพศ Sandra Bem ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับบทบาททางเพศว่า โครงสร้างการพัฒนาของเด็กตั้งอยู่บนพื้นฐานข้อมูลทางด้านวัฒนธรรมที่จะช่วยให้เด็กเกิดความเข้าใจตนเองและโลกภายนอก
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางด้านสังคมการคิด ทฤษฎีนี้มีความเชื่อว่า พฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์เป็นผลมาจากการคิดและตัวแบบทางสังคม การเรียนรู้บทบาททางเพศของเด็ก คือ สิ่งที่มีความเป้นถาวรที่จะมีการแสดงออกอย่างเหมาะสม
รูปแบบบทบาททางเพศ
รูปแบบทางบุคลิกภาพ ถือแม้ว่าเพศหญิงจะมีการเปลี่ยนแปลงบทบาททางเพสไปบ้าง อย่างไรก็ตามนักวิจัยต่างค้นพบว่า รูปแบบบทบาททางเพศ มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก
-