Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนและออกแบบการประเมินการเรียนรู้ ตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา -…
การวางแผนและออกแบบการประเมินการเรียนรู้ ตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
Bloom’s Taxonomy of educational objectives
ความรู้ความจำ
ความรู้ความจำเฉพาะอย่าง
ความรู้ความจำมโนทัศน์
ความรู้ความจำวิธีดำเนินการ
การนำไปใช้
ความเข้าใจ
ความรู้ความจำวิธีดำเนินการ
การตีความ
การขยายความ
การวิเคราะห์
วิเคราะห์ความสำคัญ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิเคราะห์หลักการ
การประเมินค่า
ประเมินโดยอาศัยข้อเท็จจริงภายใน
ประเมินโดยอาศัยข้อเท็จจริงภายนอก
การสังเคราะห์
สังเคราะห์ข้อความ
สังเคราะห์แผนงาน
สังเคราะห์ความสัมพันธ์
เทคนิคการวัดผล
คณิตศาสตร์
ความรู้ ความจำ และการคิดคำนวณ
ความเข้าใจ
การนำไปใช้
การวิเคราะห์
วิทยาศาสตร์
ด้านความรู้
ความรู้เกี่ยวกับความจริง
ความรู้เกี่ยวกับมโนทัศน์
ความรู้เกี่ยวกับหลักการและกฎวิทยาศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับข้อตกลง
ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนของปรากฏการณ์
ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ในการแบ่งประเภทของสิ่งต่าง ๆ
ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคและกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับศัพท์วิทยาศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี
ด้านความเข้าใจ
ความเข้าใจข้อเท็จจริง:
ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลความหมายของข้อเท็จจริง
ด้านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.ระบุปัญหา
ตั้งสมมติฐาน
ดำเนินการทดลอง
สังเกตขณะทดลอง
รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผลการทดลอง
ด้านการนาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ หมายถึง พฤติกรรมที่ผู้เรียนนาความรู้ มโนทัศน์ หลักการ กฎ ทฤษฎี และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ใน
การแก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม
ทักษะพิสัย
เป็นความสามารถในการเคลื่อนไหวทางกายที่แสดง ออกมาโดยอาศัยกลไกที่เป็นผลมาจากการเชื่อมโยง สัมพันธ์กันระหว่างความสามารถทางสมองและ คุณลักษณะด้านจิตพิสัยประกอบกับการได้มีโอกาสฝึก ทักษะ
Dave1970
: 1. การเลียนแบบ
การปฏิบัติได้โดยลาพัง
การทำอย่างถูกต้องแม่นยำ
การทำอย่างต่อเนื่อง รวดเร็ว ถูกต้อง คล่องแคล่ว
การทำเองโดยธรรมชาติ อัตโนมัติ
Simpson1972
การรับรู้ของประสาทและกล้ามเนื้อ
การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติ
การปฏิบัติตามข้อแนะนำ
การปฏิบัติจนเป็นนิสัย
การปฏิบัติที่สลับซับซ้อน
การปรับเปลี่ยนการปฏิบัติการ
การสร้างปฏิบัติการใหม่
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษาเป็นส่ิงท่ีเปรียบเสมือนทิศทางท่ี จะพัฒนาผูเ้ รียนไปสู่เป้าหมายท่ีตอ้ งการตามหลักสูตร การศึกษา
แบ่งเป็น 3 ระดับ
1) จุดมุ่งหมายทั่วไป
2) จุดมุ่งหมายเฉพาะ
3) จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
พฤติกรรมที่คาดหวัง
เงื่อนไขหรือสถานการณ์
เกณฑ์หรือมาตรฐาน