Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติความเป็นมาของการศึกษาพิเศษ - Coggle Diagram
ประวัติความเป็นมาของการศึกษาพิเศษ
คริสต์ศตวรรษที่ 18
เริ่มมีพัฒนากระบวนการที่มีประสิทธิภาพสอนเด็กตาบอด และหูหนวก
ประวัติความเป็นมาในต่างประเทศ
มอนเทสซอรี (Montessori) (พ.ศ. 2413-2495)
เป็นหญิงคนแรกในอิตาลีที่ได้รับปริญญาทางการแพทย์
เป็นที่รู้จักในฐานะนักศึกษาสำหรับเด็กปัญญาอ่อน
สนับสนุนส่งเสริมการให้การศึกษากับเด็กวัยก่อนประถม
ฮอบส์ (Hobbs)
นักจิตวิทยาและนักการศึกษา
ริเริ่มโปรแกรมช่วยเหลือเด็กในอเมริกา พ.ศ. 2503
มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาของเด็กที่มีปัญหาด้านอารมณ์
ซีกวิน (Sequin) (พ.ศ. 2355-2423)
เป็นลูกศิษย์อิทาร์ด
ให้การศึกษาแก่เด็กปัญญาอ่อน
ได้รับปริญญาทางการแพทย์ ในปี พ.ศ. 2404
กาลอเด็ด (Gallaudet) (พ.ศ. 2330-2394)
เป็นบาทหลวง
ตั้งโรงเรียนเด็กหูหนวกแห่งแรก ในเมืองฮาร์ตฟอร์ด กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
มีหมาวิทยาลัยแห่งแรก ที่รับเด็กหูหนวกเข้าเรียน โดยชื่อว่า กาลอเด็ด
อิทาร์ด (Itard) (พ.ศ. 2318-2381)
บิดาแห่งการศึกษาพิเศษ
สำหรับเด็กปัญญาอ่อน ร่างกายพิการ
การให้การศึกษาแก่นักเรียนหูหนวก
เป็นคนแรกที่สอนเด้กชายวิคเตอร์ อายุ 12 ปี
เป็นแพทย์ชาวฝรั่งเศส
มีความเชี่ยวชาญทางโรคหู
กระบวนการสอน
เป็นผู้คิดค้นวิธีการปรับพฤติกรรม
เป็นผู้สร้างระบบการศึกษาแบบการสอนพูดให้กับเด็กหูหนวก
ทำให้มีผู้เชี่ยวชาญการฝึกพูดและฝึกฟังในเวลาต่อมา
ประเทศอังกฤษ
เด็กที่มีความต้องการพิเศษทางด้านการศึกษา
ประเภทของความต้องการพิเศษที่มีความหลากหลายและอาจจะแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ผู้ที่เป็นออทิซึม
ความบกพร่องในการอ่าน
ฮาว (Howe) (พ.ศ. 2344-2419)
เป็นแพทย์และนักศึกษา
เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดเปอร์กินส์ เมืองวอเตอร์ทาวน์ รัสแมสซาชูเซต
เป็นครูสอนเด็กพิการซ้อน คือ หูหนวก และตาบอด
เป็นผู้สอน ลอร่า บริดจ์แมน ผู้ซึ่งทั้งตาบอดและหูหนวก ได้สำเร็จ
สเทราสส์ (Strauss) และ เวอร์เนอร์ (Werner)
(Strauss) เป็นนักประสาทวิทยา
(Werner)นักจิตวิทยาพัฒนาการ
เริ่มโปรแกรมการฝึกอบรม และดำเนินการวิจัย ตั้งแต่ พ.ศ. 2473 จนถึงปัจจุบัน
ประวัติความเป็นมาในประเทศไทย
นางสาวเจเนวีฟคอลฟิลด์ (GenevievCaulifield)
เข้ามาในกรุงเทพ พ.ศ. 2481
ร่วมกับคนไทยและคนอเมริกันนำคนตาบอดมาเลี้ยงดู
ให้ฝึกทำงานฝีมือ เช่น ถักนิตติ้งโครเชต์
จัดตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดในกรุงเทพ
จัดตั้งมูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งแรกในปี 2482
ปี 2495
ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้ง โรงเรียนสอนคนหูหนวก
ปี 2499
ให้เยาวชนตาบอดเข้าเรียนกับเด็กปกติในระดับมัธยมศึกษา ที่โรงเรียนเซนต์คาเบียล
จัดตั้งโรงเรียน 4แห่งในกรุงเทพ
โรงเรียนวัดชนะสงคราม
โรงเรียนวัดนิมมานรดี
โรงเรียนพญาไท
โรงเรียนวัดหนัง
ปี 2505
กรมสามัญศึกษาได้รับความช่วยเหลือจากมูลนิธิอเมริกัน เพื่อคนตาบอดโพ้นทะเล
ปี 2533
จัดตั้ง ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มเด็กตาบอดและครอบครัว ที่วิทยาลัยครูสวนดุสิต เพื่อบริการคนตาบอดอายุ 0-7 ปี
ปี 2504
จัดตั้งดรงเรียนหูหนวกทุ่งมหาเมฆ ปัจจุบันชื่อ โรงเรียนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ
ปี 2508
กระทรวงศึกษาธิการ อนุมัติเงินก่อสร้างอาคารเรียน และสมเด็จพระศรีนครินทร์ทราบรมราชชนนี พระราชทานชื่อว่า โรงเรียนศรีสังวาลย์
ปี 2503
ตั้งมูลนิธิ ช่วนคนปัญญาอ่อนแห่งประเทศไทย
ปี 2507
รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้า พระราชทานนามว่า โรงเรียนราชานุกูล
ปี 2512
กรมการฝึกหัดครูอนุมัติให้วิทยาลัยครูสวนดุสิตตั้งศูนย์ทดลองสอนเด็กพิการชั้นเด็กเล็ก
ปี 2513
ได้จัดตั้งเดฺ็กอนุบาลปกติเข้าเรียนร่วมกับเด็กอนุบาลหูตึง
ปี 2520
กระทรวงขยายโครงการสอนเด็กหูตึง เรียนร่วมกับหลายแห่ง เช่น โรงเรียนอนุบาลสามเสน
ปี 2525
มูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อนจัดตั้ง ศูนย์ฝึกเด็กปัญญาอ่อนประภาคารปัญญา
ปี 2520-2531
มูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อนประกาศจัดตั้ง ศูนย์ฝึกเด็กปัญญาอ่อนและบุคคลปัญญาอ่อน
ปี 2531
มูลนิธิจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพแบบโรงงานในอารักษ์
ปี 2523-2530
กองการพิเศษ กรมสามัญศึกษา ได้ขยายการศึกษาสำหรับผู้บกพร่องทางสติปัญญา
ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19
ได้มีความพยายามจัดระบบให้การศึกษากับเด็กปัญญาอ่อน