Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนและออกแบบการประเมินการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา -…
การวางแผนและออกแบบการประเมินการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
ทักษะพิสัย
Dave (1970)
การเลียนแบบ (imitation)
การปฏิบัติได้โดยลำพัง (manipulation)
การทำอย่างถูกต้องแม่นยำ (precision)
การทำอย่างต่อเนื่อง รวดเร็ว ถูกต้อง คล่องแคล่ว
(organization of a value)
การทำเองโดยธรรมชาติ/อัตโนมัติ (naturalization)
Simpson (1972)
การรับรู้ของประสาทและกล้ามเนื้อ (perception)
การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติ (set)
การปฏิบัติตามข้อแนะนำ (guided response)
การปฏิบัติจนเป็นนิสัย (mechanism)
การปฏิบัติที่สลับซับซ้อน (complex overt response)
การปรับเปลี่ยนการปฏิบัติการ (adaptation)
การสร้างปฏิบัติการใหม่ (origination)
เป็นความสามารถในการปฏิบัติและแสดงออกของบุคคลในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งสามารถจําแนกพัฒนาการ
จิตพิสัย
เป็นการเรียนรู้และพัฒนาการด้านอารมณ์ ความรู้สึก เกี่ยวกับค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม เจตคติ เป็นต้น ซึ่งแบ่งเป็น 5 ระดับ
1) การรับรู้หรือการใส่ใจต่อสิ่งเร้า (receiving or attending)
2) การตอบสนอง (responding)
3) การเห็นคุณค่า (valuing)
4) การจัดระบบ (organization)
5) การสร้างคุณลักษณะจากค่านิยม (characterization)
พุทธิพิสัย
เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom) จําแนกจุดประสงค์ด้านใหญ่ ๆ มีอยู่ 6 ข้อ
1.00 ความรู้ความจํา (knowledge)
1.10 ความรู้ความจำเฉพาะอย่าง (knowledge of specifics)
1.20 ความรู้ความจำวิธีดำเนินการ (knowledge of
ways and means of dealing with specifics)
1.30 ความรู้ความจำมโนทัศน์ (knowledge of the universals and abstractions in a field
2.00 ความเข้าใจ (comprehension)
2.10 การแปลความ (translation)
2.20 การตีความ (interpretation)
2.30 การขยายความ (extrapolation)
3.00 การนําไปใช้ (application)
4.00 การวิเคราะห์ (analysis)
4.10 วิเคราะห์ความสำคัญ (analysis of elements)
4.20 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ (analysis of relationships)
4.30 วิเคราะห์หลักการ (analysis of organizational principles)
5.00 การสังเคราะห์ (synthesis)
5.10 สังเคราะห์ข้อความ (production of a unique
communication)
5.20 สังเคราะห์แผนงาน (production of a plan or
proposed set of operation)
5.30 สังเคราะห์ความสัมพันธ์ (deviation of set of
abstracts relations)
6.00 การประเมินค่า (evaluation)
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา (Educational objectives)
จุดมุ่งหมายทั่วไป (general objectives)
แสดงทิศทางของการศึกษาอย่างกว้าง ๆ
อาศัยเทคนิควิธีและกระบวนการต่าง ๆ รวมเข้าด้วยกัน
จุดมุ่งหมายเฉพาะ (specific objectives)
แยกออกมาจากจุดมุ่งหมายทั่วไป
ต้องใช้ระยะเวลา
จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม (behavioral objectives)
เน้นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรม
สังเกต วัดได้
เกิดขึ้นได้ภายในระยะเวลาอันสั้น
พฤตกิรรมของผู้รียนที่เกิดขึ้นในการจดัการเรียนรู้
พฤติกรรมที่สังเกตได้
พฤติกรรมแฝง (latent behavior) เป็นพฤติกรรมที่ไม่ สามารถสังเกตได้อย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน ส่วนใหญ่เป็น พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ส่วนประกอบของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
พฤติกรรมที่คาดหวัง
(Expected behavior)
เป็นคำที่แสดงการกระทำ(ACTION WORD) ที่สามารถสังเกตเห็นได้
เงื่อนไขหรือสถานการณ์
(Condition or Situation)
เนื้อหาของสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียน ฝึกปฏิบัติหรือสภาพของสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ เพื่อให้ เกิดพฤติกรรมที่คาดหวัง
เกณฑ์หรือมาตรฐาน
(Criterion or Performance Standard)
เปอร์เซ็นต์หรือบอก จำนวนการกระทำสิ่งนั้น ๆ ว่าได้ เท่าไรจึงจะผ่าน