Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการทำจิตบำบัด - Coggle Diagram
เทคนิคการทำจิตบำบัด
- การตั้งเป้าหมายในการบำบัด
3.3 เป้าหมายที่ดีครวมีลักษณะดังนี้ ไม่ควรมีหลายข้อ , มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรมเพียงพอ ไม่กว้างเกินไป , เป้าหมายต้องมีความเป็นไปได้
-
-
-
-
-
-
- การสร้างความเข้มข้นทางอารมณ์
- ใช้ภาษาของผู้มารับคำปรึกษา
-
- ใช้คำอุปมาหรือคำเปรียบเทียบให้เห็นภาพพจน์
-
คำถามแบบวงกลม ปรากฎการณ์ทางจิตใจมีลักษณะเป็นวงกลมที่มีความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ลักษณะคำถามจะเพ่งเล็งที่ความแตกต่างใน 3 ด้านคือ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างในปฏิสัมพันธ์ที่สมาชิกแต่ละคู่มีต่อกัน ความแตกต่างในเวลาระหว่างปัจจุบันกับอดีต
คำถามซ้อนปฏิเสธ พยายามหลีกเลี่ยงคำถามที่มีปฏิเสธซ้อนปฏิเสธเพราะทำให้เข้าใจยาก เช่น "คุณไม่อยากทำให้สามีไม่พอใจใช่ไหม"
-
ข้อดีของการสร้างข้อตกลงคือ
-ทำให้ครอบครัวตระหนักว่า การเปลี่ยนแปลงกำลังจะเริ่มต้นแล้ว
-ครอบครัวรู้ระยะเวลาแน่นอนที่จะใช้ในการบำบัด
-เป็นการกำหนดว่าสมาชิกแต่ละคนมีบทบาทอย่างไร
การสร้างข้อตกลงเป็นสิ่งจำเป็นก่อนที่จะเริ่มการบำบัด ข้อตกลงในที่นี้หมายถึงข้อตกลงเกี่ยวกับการบำบัด เช่น จะพบกับบ่อยเพียงไร เป็นระยะเวลานานเท่าไหร่ ใครจะต้องมาร่วมในการบำบัดบ้าง ฯลฯ
ในการทำจิตบำบัดครอบครัว ผู้บำบัดจะต้องรับฟังข้อมูลและตอบสนองกับคนหลายคนในเวลาเดียวกัน สมาชิกแต่ละคนต่างก็มีประสบการณ์และข้อมูลมากมายที่ต้องการให้ผู้บำบัดได้รับรู้ แต่บ่อยครั้งที่ข้อมูลเหล่านั้นเป็นรายละเอียดปลีกย่อยมาก ไม่ตรงประเด็นหรือไม่มีประโยชน์ต่อการบำบัด ดังนั้นผู้บำบัดจะต้องเพ่งเล็งอยู่ที่ประเด็นสำคัญ
ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวเป็นความสัมพันธ์แบบพึ่งพิงกัน สมาชิกแต่ละคนโดยเแพาะสามีภรรยาต่างต้องอาศัยอีกคนหนึ่งเป็นผู้ทดแทน หรือ เติม สิ่งที่ขาดไปให้เต็ม
การทำให้กระจ่างมีประโยชน์ 2 อย่าง คือ ผู้พูดเองก็มีความชัดเจนว่าตนรู้สึกอย่างไรและต้องการอะไร ส่วนผู้ฟังก้จะมีความชัดเจนว่าอีกฝ่ายหนึ่งบอกอะไร และตนต้องทำอะไรบ้างเพื่อจะตอบสนองได้อย่างเหมาะสม
-
การท้าทาย เป็นวิธีกระตุ้นให้ครอบครัวเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้น ผู้บำบัดจะท้าทายให้ครอบครัวมองปัญหาในแง่ใหม่ ประเมินความเป็นไปในปัจจุบันใหม่และเปลี่ยนวิธีแก้ปัญหาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น