Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเเละคัดเลือก เเนวคิดผลิตภัณฑ์, การสร้างเเนวคิดผลิตภัณฑ์ -…
การสร้างเเละคัดเลือก
เเนวคิดผลิตภัณฑ์
ปัจจัยที่ควรพิจารณา
ทรัพยากรในบริษัทรองรับการผลิต
สอดคล้องกับกลยุทธ์บริษัท
เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์คู่เเข่ง
พิจารณาจากข้อบกพร่องที่มีอยู่
สร้างสิ่งที่เเตกต่าง
รวบรวมข้อมูล-เทคโนโลยี/ตลาด/ผู้บริโภค
มีเทคโนโลยีรองรับในการผลิต
ตอบสนองความต้องการผู้บริโภค
มีช่องว่างทางการตลาด
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างเเนวคิด
ความสัมพันธ์ของ บริษัท-ผลิตภัณฑ์-ผู้บริโภค
ปัจจัยภายนอก
สิ่งเเวดล้อม
สภาวะทางสังคม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
เเรงผลักดันทางด้านเทคโนโลยี
องค์ความรู้ทางด้านการตลาด
เทคโนโลยีการแปรรูป
เเรงดึงดูดของผู้บริโภค
พฤติกรรม+ทัศนคติของผู้บริโภค
พื้นฐานทางสังคมของผู้บริโภค
การสร้างเเนวคิดผลิตภัณฑ์
รวบรวมแนวคิดผลิตภัณฑ์
สืบค้นข้อมูลทางตรง
เทคโนโลยี
เทคนิคที่ใช้ผลิต/งานวิจัย
วัตถุดิบชนิดใหม่/วัตถุดิบทดแทน
เครื่องจักรพื้นฐาน/ใหม่
การวิจัยด้านวิศวกรรมแปรรูป/การผลิตเชิงอุตสาหกรรม
การตลาด
ช่องว่างทางการตลาด
เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์คู่เเข่ง
ผลิตภัณฑ์ใหม่ในตลาด
ส่วนแบ่งตลาด
การเปลี่ยนแปงทางการตลาด/ช่องทางการตลาด
เทรนด์อาหารเเละเครื่องดื่ม
ผู้บริโภค
พฤติกรรม/ทัศนคติของผู้บริโภคในปัจจุบัน/อนาคต
ค.ต้องการ/ค.จำเป็นของผู้บริโภคในปัจจุบัน/อนาคต
สภาวะทางสังคม/การดำเนินชีวิต
แหล่งข้อมูล
ภายในบริษัท
ฝ่ายวิจัยเเละพัฒนา
แฟ้มรวบรวมข้อมูล/คำร้องเรียน
ฝ่ายขาย
คำเเนะนำจากพนักงาน
การประชุมกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
เทคโนโนโลยีในบริษัท
ภายนอกบริษัท
ลูกค้า
คู่เเข่ง
ตลาดภายใน/นอกประเทศ
เอกสารสิทธิบัตร
ที่ปรึกษาบริษัท
สิ่งตีพิมพ์/วารสาร
เทคนิคการสร้างเเนวคิดผลิตภัณฑ์ใหม่
การสร้างเเนวคิดผลิตภัณฑ์ด้วยตนเอง
คิดเเบบนอกกรอบ/การคิดเเนวข้าง
การคิดสร้างสรรค์
คิดในเเง่บวก
มีมุมมองใหม่
ไม่ทำร้ายใคร
วิธีการคิดใหม่
เป็นสิ่งใหม่
ใช้การได้
มีความเหมาะสม
คิดเเบบมีเหตุผล/การคิดเเนวตั้ง
การสร้างเเนวคิดผลิตภัณฑ์แบบกลุ่ม
การคิดที่เกิดจากกลุ่มคนที่มีความรู้/ประสบการณ์ในสายงานต่างๆ
เปิดโอกาสให้นักคิดแบบนอกกรอบได้ถูก
กระตุ้นการคิดโดยสมาชิกในกลุ่ม
แบ่งปันความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และข้อมูล
สร้างสัมพันธ์+เห็นเเนวทางการแก้ปัญหา
เทคนิคการสร้างแนวคิดผลิตภัณฑ์แบบกลุ่ม
การระดมสมอง
Formal (Structure brainstorming)
แจ้งขอบข่ายของปัญหา
สมาชิกเขียนแนวความคิด 3-4 ความคิด
สนทนากัน เริ่มจากสมาชิกทีละคน
เหมาะกับผู้ดำเนินงานที่ไม่มีประสบการณ์
Informal (free brainstorming)
เหมาะกับผู้ดำเนินงานที่มีประสบการณ์
ผู้นำกลุ่ม ป้อน Key words ให้กลุ่ม
แจ้งขอบข่ายของปัญหา
การวิเคราะห์ลักษณะของผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทมีลักษณะเฉพาะตัว
ขอบเขต
ลักษณะทางประสาทสัมผัส
คุณค่าทางอาหาร
อายุการเก็บรักษา
กระบวนการแปรรูปที่ใช้
ลักษณะทางกายภาพ
ส่วนประกอบทางเคมี
อายุการใช้งาน
รูปแบบ
การวิเคราะห์ช่องว่างในตลาด
ใช้ลักษณะที่สำคัญเป็นตัวพิจารณา
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้บริโภค
พิจารณาว่าผู้บริโภคต้องการอะไรจากผลิตภัณฑ์ในด้านต่างๆ
การวิเคราะห์มิติของผลิตภัณฑ์
กำหนดลักษณะ/มิติของผลิตภัณฑ์ เเล้วกำหนด
ทางเลือกในแต่ละมิติ หาข้อสรุปที่พอดี
การสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคล
ใช้ในการศึกษาความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ สำหรับผู้บริโภคที่ไม่ต้องการสนทนากลุ่ม
การคิดสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ
Multiplication/division
พิจารณาเพิ่มจำนวน แบ่งส่วน
Task unification
พิจารณาการรวมความสามารถใน
การทำงานหลายๆ อย่างไว้ในตัวผลิตภัณฑ์
Subtraction
ตัดส่วนประกอบบางอย่างออก
และทดแทนด้วยสิ่งที่ดีกว่า
Attribute dependency change
พิจารณาลักษณะของผลิตภัณฑ์ กับลักษณะของสิ่งแวดล้อม
การอภิปรายกลุ่ม
ใช้ในการศึกษาพฤติกรรม/ความต้องการของผู้บริโภค/ลักษณะผลิตภัณฑ์ท่ผู้บริโภคต้องการ ในเเต่ละกลุ่มมีผู้บริโภค 6-12 คน มีผู้ดำเนินการที่มีประสบการณืเป็นผู้ถาม มีแบบฟอร์มแบบสอบถาม
แนวคิดผลิตภัณฑ์