Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดในภาวะวิกฤต,…
บทที่3: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดในภาวะวิกฤต
สาเหตุ
การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลงมีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด มีของเหลวในเยื่อหุ้มหัวใจ เกิดพยาธิสภาพของ
กล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
กล้ามเนื้อหัวใจทำงานหนักจากการเพิ่มแรงต้านทานของเส้นเลือด การเพิ่มปริมาณเลือดก่อนบีบตัวในโรคลิ้นหัวใจรั่ว ภาวะร่างกายใช้พลังงานมากขึ้น และการคั่งของน้ำในระบบไหลเวียน
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral Stenosis)
ลิ้นหนาตัวขึ้นและแาจจะมีหินปูนมาจับ ซึ่งเป็นผลรวมมาจากการรวมกับคอร์ดี้ เทนดินี่ การเปลี่ยนแปลงทำให้ลิ้นไม่เคลื่อนไหวตามปกติ ทำให้เลือดไหลเวียนสู่เวนตริเคิลซ้ายลดลง
อาการ:
ใจสั่น หอบเหนื่อย ไอเป็นเลือด เจ็บหน้าอก
เสียงแหบ ได้ยินเสียงฟู่กลางไดแอสโตล
การตรวจวินิจฉัย:
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ, ภาพรังสีทรวงอก
สาเหตุ:
ไข้รูมาติค เนื้องอกที่เอเตรียม ทำให้อุดตันทางเดินเลือด
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic Stenosis)
เป็นความพิการโดยลิ้นหนาตัวขึ้น และมีการยึดติดของกลีบลิ้น ซึ่งเป็นผลจากการมีหินปูนมาเกาะจับ ทำให้รูเปิดของเอออร์ติคแคบลง
สาเหตุ:
ความผิดปกติของตัวลิ้นแต่กำเนิด, เกิดจากลิ้นอักเสบจากไข้รูมาติค,เกิดจากมีหินปูนมาเกาะที่ลิ้นมากผิดปกติ
อาการ/อาการแสดง:
เจ็บหน้าอก,เป็นลมหมดสติ,เหนื่อยหอบ,เสียงหัวใจ อาจพบเสียงฟู่ซีสโตลิคที่บริเวณลิ้นเอออร์ติค
การตรวจวินิจฉัย:
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ, ภาพรังสีทรวงอก,
การสวนหัวใจ พบว่ามีความแตกต่างระหว่างเอออร์ต้าและเวนตริเคิลซ้าย
ลิ้นไมตรัลรั่ว (Mitral regurgitation)
เป็นการผิดปกติของลิ้นไมตรัล ทำให้มีการไหลย้อนกลับ
ของเลือดจากเวนตริเคิลซ้ายไปยังเอเตรียมขวา
อาการ/อาการแสดง:
หอบเหนื่อย, เจ็บหน้าอก, ใจสั่น, ชีพจรส่วนมากปกติ, เสียงกัวใจsค่อนข้างเบา
การตรวจวินิจฉัย:
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ, ภาพรังสีทรวงอก,
การสวนหัวใจและฉีดสารทึบแสงเข้าหัวใจ
ลิ้นหัวใจเอออร์ติครั่ว (Aortic Regurgitation)
อาการ/อาการแสดง:
ใจสั่น, หัวใจเต้นแรง, เจ็บหน้าอก, เวียนศีรษะเวลาลุกขึ้นยืน,ปวดท้อง
สาเหตุ:
ลิ้นหัวใจรั่วเฉียบพลัน, ลิ้นหัวใจรั่วเรื้อรัง
การตรวจวินิจฉัย:
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ, ภาพรังสีทรวงอก
เป็นความผิดปกติของลิ้น ทำให้เลือดออกจากเวนตริเคิลซ้ายไปเอออร์ต้าไหลย้อนกลับเข้าสู่เวนตริเคิลซ้าย
การรักษา โรคลิ้นหัวใจ
ทางอายุรกรรม
ใช้ยาต้านการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ
ใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ทางศัลยกรรม
มีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด ดังนี้
มีอาการและอาการแสดงของหัวใจสูบฉีดเลือดลดลง
เคยมีภาวะหัวใจวายมาแล้ว
มีประวัติของธรอมโบ-เอมโบลิสม
มีอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีแรงดันเลือดแดงในปอดสูง
มีอาการแสดงอยู่ใน Fuctional class III ขึ้นไป
การพยาบาล
ดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น เนื้อเยื่อส่วนปลาย เนื้อเยื่อสมองไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เจ็บหน้าอก
ดูแล ส่งเสริม และการประเมินการทำงานของหัวใจเพื่อให้สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายอย่างเพียงพอ
บอกแพทย์/ทันตแพทย์เกี่ยวกับการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดทุกครั้งที่พบแพทย์
ให้ความรู้เกี่ยวกับแผนการรักษาและการปฏิบัติตัว
พบแพทย์เมื่อมีอาการเลือดออกไม่หยุด
นางสาวนูรไอนี มูซอ ห้อง34/1 เลขที่57