Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กชายอายุ10ปี ถูกนำส่งโรงพยาบาล ปิดาให้ประวัติว่าเล่นน้ำตก…
-
กิจกรรมการพยาบาล
• ช่วยให้มีการระบายอากาศได้อย่างเพียงพอ และป้องกันการอุดตันในทางเดิน หายใจ เนื่องจากภาวะท่ีมีการคั่งค้างของคาร์บอนไดออกไซด์ และภาวะขาด ออกซิเจนน้ันจะทาให้หลอดเลือดสมองขยายตัวจึงมีปริมาณเลือดไหลเวียน เดื่มขึ้นเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงข้ึนดังน้ันควรปฏิบัติดังน้ี
-
-
-
-
-
-
-
• จัดท่านอนศีรษะสงู 30 องศา โดยให้ศีรษะและคออยู่ในแนวเดียวกัน ไม่บิดหมุน ซ้าย ขวา และการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยควรทาด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้สะโพกงอ มากกว่า90องศาเพื่อให้มีการแพร่กระจายของน้ำไขสนัหลังส่ชู่องว่างไขสันหลังได้ ดีและ มีการไหลกลับของเลือดดาสู่หัวใจได้สะดวก ซึ่งจะทาให้ความดันในกะโหลก
ศีรษะลดลง และแรงดันกาซาบสมองไม่เปลี่ยนแปลง
• สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพและ อาการทางระบบประสาท ระดับความรู้สึกตัว ปฏิกิริยาของรูม่านตาและการเคลื่อนไหวอย่างใกล้ชิด หากคะแนน GCS ลดลงจาก เดิม≥ 2 คะแนน สับสน กระสับกระส่าย ไม่รับรู้วัน เวลา สถานท่ีบุคคล หรือมี อาการง่วงซึม แขนขาอ่อนแรงแย่ลงจากเดิมต้ังแต่ 1 grade มีอาการตาพร่ามัว อาการพูดลำบากขนาดของpupilที่เปลี่ยนแปลง2ข้างแตกต่างกนัเกนิ 1mm.ไม่ มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อแสง ปวดศีรษะมากข้ึน รับประทานยาบรรเทาปวดแล้วอาการไม่ทุเลาค่าICP≥20mmHgต้องรายงานแพทย์ทันที
• ควรหลีกเลี่ยงได้แก่ ท่านอนศีรษะต่า และท่านอนคว่าหรือท่าก้มศีรษะหรือแหงน คอมากเกินไปเพราะจะส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงสมองมากขึ้นทำให้แรงดันกำซาบ สมองและความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มสูงข้ึน
• หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เพิ่ม metabolism ของสมอง เช่น การมีไข้ โดยจะประเมิน อุณหภมูิร่างกายทุก4ชม.หรือตามสภาพของผู้ป่วยดูแลเช็ดตัวลดไข้และให้ได้รับยาลด ไข้ตามแผนการรักษา ควรควบคุมอุณุ หภมูิของร่างกายไว้ที่ 36-37 องศาเซลเซียส
• ลดกิจกรรมที่ทำให้เกิด ความดันในช่องอกและช่องท้อง (Valsalva maneuver) เพิ่มขึ้น ได้แก่ การออกแรงลุกนั่ง การเบ่งถ่ายอจุ จาระ การไอ สาลัก หรือการจามแรงๆ การร้องการพลิกตะแคงตัวอาการท้องผูกรวมทั้งการตั้งค่าเครื่องช่วยหายใจที่มีความ ดันบวกในช่วงสุดการหายใจ(PEEP)มากกว่า5-10cmH2Oและหากมีการออกแรง แนะนาให้ผ่อนลมหายใจออกทางปากขณะออกแรง เนื่องจากความดันในช่องอกและช่อง ท้องเพิ่มขึ้นจะทำให้การไหลเวียนเลือดในหลอดเลือดดำจากสมองส่วนใจลดลงทันที ส่งผลให้ปริมาตรเลือดในสมองเพิ่มสูงขึ้นและเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงตามมา
• ประเมินCushing’ssignได้แก่ 1)SBPสงูขึ้นDBPเท่าเดิมหรือลดลงทาให้มีpulse pressure กว้าง > 60 mmHg 2) PR ช้าลง 3) รูปแบบการหายใจเปลี่ยนแปลงและไม่ สม่าเสมอ เพื่อประเมินการไหลเวียนของเลือดไปยังสมอง