Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ระบบทางเดินหายใจภาวะวิกฤติ,…
บทที่2: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา
ระบบทางเดินหายใจภาวะวิกฤติ
ชนิดของภาวะหายใจล้มเหลว
Pump failure
ความผิดปกติของกลไกการหายใจเข้าออก ทำให้ PaCO2 สูงขึ้น และมีภาวะความเป็นกรดในเลือด
Gas exchange failure
ความผิดปกติที่ปอด ทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เพียงพอ PaCO2 ลดลง
Adult Respiratory Distress Syndrome (ARDS)
กลุ่มอาการของโรค หรือสภาพการที่มีผลทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อปอด โดยที่สาเหตุจากหลายองค์ประกอบ กลุ่มอาการนี้เป็นกลุ่มอาการที่สำคัญที่ทำให้เกิดการหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
ภาวะหายใจล้มเหลว(Respiratory Failure)
ภาวะที่ร่างกายไม่สามารถรักษาระดับออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดงให้สมดุล
สาเหตุการเกิดภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
โรคของไขสัน: guillian-barre's syndrome
โรคของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น บาดทะยัก
โรคของสมอง เช่น cerebrovascular accident
หรือการบาดเจ็บที่สมอง
โรคของทรวงอกและเยื้อหุ้มปอด เช่น บาดเจ็บที่ทรวงอก
โรคของทางเดินหายใจส่วนบน ส่วนล่าง และถุงลม เช่น โรคหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ภาวะปอดแฟบ
โรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น ภาวะน้ำท่วมปอด
แบ่งระยะเวลาที่เกิดหายใจล้มเหลว
Acute respiratory failure
ภาวะหายใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นในระยะเวลารวดเร็ว
อาจเป็นเพียงนาทีหรือเป็นวัน
Chronic respiratory failure
เป็นภาวะหายใจล้มเหลว ที่เกิดขึ้นมานาน
อาจเป็นเดือนหรือปี
อาการ/อาการแสดงภาวะหายใจล้มเหลว
ภาวะเลือดขาดออกซิเจน:
หายใจไม่ปกติ สับสนกระวนกระวาย ใจสั่น เจ็บหน้าอก
ภาวะเลือดมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง:
ปวดศีรษะ สับสน อ่อนเพลีย
ภาวะเลือดขาดออกซิเจน:
เขียว ชัก หมดสติ หายใจตื้น เร็ว ความดันเลือดสูง
ภาวะเลือดมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง:
papilledema, flapping tremor, สมองบวม,เหงื่ออก
กลไกการเกิดโรค
เกิดจาก alveolar capillary membrane เสื่อมหน้าที่หรือมีการทำลาย มีการเปลี่ยนแปลงทำให้ permeability ของ membrane เพิ่มขึ้น มีผลให้ transudate ซึมผ่านเข้าไปในเนื้อเยื่อระหว่าง alveolus และใน alveolus เอง ทำให้เกิด interstitial และ alveolar edema
อาการ/อาการแสดง
ลักษณะเด่นทางคลินิกของ ARDS คือ cyanosis
การตรวจปอดจะฟังได้ fine crepitation ทั่ว ๆ ไป ที่ปอดทั้งสองข้าง ใน ARDS central venous pressure และ pulmonary wedge pressure จะไม่สูงขึ้นเหมือนภาวะหัวใจวายทั่วไป
มีอาการไอ หอบเหนื่อย เหงื่อออกมากและกระสับกระส่าย
สาเหตุของ ARDS
การสูดดมก๊าซพิษ ได้แก่ คลอรีน ควันบุหรี่
การสูดสำลัก ซึ่งอาจเป็นเศษอาหาร
น้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
การติดเชื้อ ได้แก่ ปอดอักเสบจากเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และเชื้อรา
การได้รับยาเกินขนาด
การได้รับอุบัติเหตุ ได้แก่ การอุดตันจากก้อนไขมันจากกระดูกหัก การได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะ
ภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือด
ภาวะช็อกจากสาเหตุต่างๆ เช่น จากการเสียเลือด
จากการติดเชื้อ และจากหัวใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตของระบบหายใจ
เพื่อแก้ไขภาวะเลือดขาดออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์
แนะนะวิธีการไออย่างถูกต้อง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อช่วยละลายเสมหะ
ดูแลจัดท่าให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก ทำ fowler's position
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลม
ดูแลทางเดิหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะให้ผู้ป่วย
เพื่อรักษาความสมดุลของสารน้ำ (ในผู้ป่วย ARDS)
ติดตามดูปริมาณน้ำในร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ ตามแผนการรักษาภาวะปอดบวมน้ำ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
และบันทึกสมดุลน้ำเข้าออก
ตรวจสอบสัญญาณชีพ เพื่อเฝ้าระวังน้ำท่วมปอด
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำเกินภาวะน้ำท่วมปอด
นางสาวนูรไอนี มูซอ ห้อง34/1 เลขที่ 57