Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
SWU151 - Coggle Diagram
SWU151
บทที่2
การพัฒนาบัณฑิตหรือมนุษย์ที่สมบูรณ์
1.การพัฒนาบัณฑิตแบบองค์รวม
1.1การพัฒนาคนทั้งคนจากระบบการดำเนินชีวิตของคนทั้ง3ด้าน
ด้านพฤติกรรม:ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งทางสังคมและวัตถุ
ด้านจิตใจ:สอดคล้องกับพฤติกรรม
ด้านปัญญา:ความรู้ ความเข้าใจเหตุผล
1.2Interactionism model มองการแสดงออกทางพฤติกรรมของคนจากปัจจัย4ด้าน
ปัจจัยภายนอก:เหตุด้านสถานการณ์
ปัจจัยภายใน:เหตุด้านจิตใจ
เหตุระหว่างสถานการณ์ปัจจุบันกับจิตของผู้กระทำที่ส่งผลต่อพฤติกรรม
เหตุด้านจิตลักษณะตามสถานการณ์
2.การศึกษาเพื่อพัฒนาแบบองค์รวม
2.1การศึกษาเพื่อพัฒนาคนต้องยึดหลัก ไตรสิกขา3
ศีล:ฝึกด้านพฤติกรรม
สมาธิ:ฝึกด้านจิตใจ
ปัญญา:ฝึกด้านการรู้ความจริง
2.2การแก้ปัญหามีหลักปฏิบัติคือ อริยมรรค8
สัมมาทิฏฐิ:ทัศนะตามความเป็นจริง
สัมมาสังกัปปะ:ความคิดในทางสร้างสรรค์
สัมมาวาจา:การพูดที่สุจริต
สัมมากัมมันตะ:การกระทำที่ดี
สัมมาอาชีวะ:การประกอบอาชีพสุจริต
สัมมาวายามะ:เพียรในทางที่ดี
สัมมาสติ:มีสติ
สัมมาสมาธิ:มีจิตตั้งมั่น
2.3มนุษย์ที่ฝึกฝนแล้ว เรียกว่าสัตว์ประเสริฐ คุณสมบัติ7ประการ
แสวงหาแหล่งปัญญาและแบบอย่างที่ดี
มีวินัย
จิตใจใฝ่เรียนรู้และสร้างสรรค์
มุ่งมั่นเต็มศักยภาพ
มองอะไรตามหลักเหตุและผล
ไม่ประมาท
ฉลาดคิดแบยคาย
3.รู้อย่างไรว่าพัฒนาแล้วเป็นคนเต็มคน
3.1การวัดการพัฒนาแบบองค์รวม พิจารณา4ด้าน
พัฒนากาย:ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ใช้อุปกรณ์เทคโลยีต่างๆเป็น
พัฒนาศีล:ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม
พัฒนาจิตใจ:มีคุณธรรม ความมั่นคง ความสุข
พัฒนาปัญญา:ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
3.2ธรรมของคนที่สมบูรณ์ สัปปุริสธรรม7
รู้หลักและรู้จักเหตุ
รู้ความมุ่งหมายและรู้จักผล
รู้ตน:ความจริงตามฐานะและความถนัด
รู้ประมาณ
รู้เวลา
รู้ชุมชน:ควรปฏิบัติตัวในแต่ละที่อย่างไร
รู้บุคคล:เข้าใจความแตกต่างของบุคคล
4.ทักษะการแก้ปัญหาตามหลักการคิดเชิงออกแบบ
4.1Empathy:เข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทำความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด
4.2Define:นิยามและตีกรอบปัญหา
4.3Ideat:ระดมความคิด หาไอเดียแก้ปัญหา
4.4Prototype:สร้างต้นแบบที่จับต้องได้
4.5Test:ทอดสอบให้กลุ่มเป้าหมายใช้จริง
บทที่3 การพัฒนาคน
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1.การพัฒนาทรัพยากรคนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
1.2การพัฒนาคน:การทำให้บุคคลมีชีวิตที่ดี งดงาม ประณีต มีอิสรภาพ มีความสุข มีความเป็นคนเต็มคน
1.1การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์:การทำให้บุคคล เป็นสินทรัพย์หรือเครื่องมือ ให้สามารถทำงานเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม
2.แนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2.1สิ่งแวดล้อม:ส่งเสริมทัศนคติการเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ
2.2มนุษย์:ส่งเสริมสุขภาพกายใจ ฝึกความอดทน ความรับผิดชอบ
2.3เทคโนโลยี:สร้างและใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหา
2.4สังคม:ส่งเสริมสร้างบรรยากาศการเกื้อกูลป้องกันคนในสถานะต่างๆ
3.การพัฒนาตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3.1พอประมาณ
พอดีด้านจิตใจ:เข้มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม
พอดีด้านสังคม:ช่วยเหลือเกื้อกูล สามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน
พอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติ:รู้จักใช้อย่างฉลาดรอบคอบ และเกิดความยั่งยืน
พอดีด้านเทคโนโลยี:ใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
พอดีด้านเศรษฐกิจ:เพิ่มรายได้ ลดร้ายจ่าย พออยู่พอกิน
3.2มีเหตุผล
ยึดความประหยัด
ยึดการประกอบอาชีพสุจริต
ละเลิกการแก่งแยกผลประโยชน์
ไม่หยุดหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์
ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี
3.3มีภูมิคุ้มกัน
วางแผนและมีแผนสำรอง
ยืดหยุ่นพร้อมปรับเปลี่ยน
ประเมินความเสี่ยงอยู่เสมอ
บทที่1 ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของวิชาศึกษาทั่วไป
1.ประวัติความเป็นมาของวิชาศึกษาทั่วไป
วิชาศึกษาทั่วไปมีมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมันในชื่อวิชาศิลปศาสตร์ ส่วนคำว่าศึกษาทั่วไปนั้นใช้ในวงการศึกษาของสหรัฐอเมริกา
2.ความหมายและความสำคัญของวิชาศึกษาทั่วไป
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการให้ความหมายหมวดวิชาศึกษาทั่วไปไว้ว่า เป็นหมวดวิชาที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ให้มีความรู้อย่างกว้างขวางและเห็นคุณค่าตนเองและผู้อื่น
3.จุดมุ่งหมายของวิชาศึกษาทั่วไป
3.1มีจุดมุ่งหมายในระหว่างทาง เพื่อสร้างนักศึกษา/นิสิต
3.2มีจุดมุ่งหมายปลายทาง เพื่อสร้างบัณฑิต
4.ความสำคัญของวิชาศึกษาทั่วไปที่มีต่อวิชาชีพ
วิชาที่ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ดี มีความรู้กว้างคือวิชาศิลปศาสตร์หรือวิชาศึกษาทั่วไป ส่วนวิชาที่ช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติงานได้ดี คือวิชาชีพ
5.บัณฑิต มศว ที่พึงประสงค์
อัตลักษณ์9ประการ
ใฝ่รู้ตลอดชีวิต
คิดเป็นทำเป็น
หนักเอาเบาสู้
รู้กาลเทศะ
เปี่ยมจิตสำนึกสาธารณะ
มีทักษะสื่อสาร
อ่อนน้อมถ่อมตน
งามด้วยบุคลิก
พร้อมด้วยศาสตร์และศิลป์