Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย์ - Coggle Diagram
การศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย์
5.ศิลปศาสตร์ มองโดยสัมพันธ์กับกาลเวลา ยุคสมัย การเปลี่ยนเเปลง เเละศิลปศาสตร์มองในเเง่เทศะ
ความเชื่อเเบบกาลามสูตร
2.กาลามสูตร คือ สิ่งที่ไม่ควรปลงเชื่อ มี 10 ประการ
1.อย่าปลงใจเชื่อ การฟังตามกันมา
2.อย่าปลงใจเชื่อ เล่าสืบกันมา
3.อย่าปลงใจเชื่อ ข่าวลือ
4.อย่าปลงใจเชื่อ อ้างคัมภีร์ตำรา
6.อย่าปลงใจเชื่อ คิดคาดคะเน อนุมานเอง
7.อย่าปลงใจเชื่อ การคิดตามเเนวเหตุผล
5.อย่าปลงใจเชื่อ คาดเดาเอาเอง
8.อย่าปลงใจเชื่อ ทฤษฎีที่ฟังกันมา
9.อย่าปลงใจเชื่อ ที่ลักษณะผู้พูด
10.อย่าปลงใจเชื่อ ผู้พูดเป็นครูของเรา
ความหมาย
วิธีปฏิบัติในเรื่องที่ควรสงสัย ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ใช้ในการตอบคำถามชาวลามะที่มีเเต่ความสงสัยในคำสอนของพระองค์ โดยไม่ได้สรรเสริญคำสอนของพระองค์เองเเละไม่ติเตือนคำสอนศาสนาอื่นด้วย
หลักโยนิโสมนสิการ
4.อริยสัจ 4
ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ค้นหาสาเหตุของปัญหา
ขั้นที่ 3 การเเก้ปัญหาการดับทุกข์
ขั้นที่ 4 วิธีการเเก้ปัญหาทางดับทุกข์
ขั้นที่ 1 กำหนดรู้ทุกข์หรือทำความเข้าใจกับปัญหา
5.อรรถธรรมสัมพัทธ์
เป็นการคิดตามหลักการเเละความมุ่งหมาย
3.รู้เท่าทันธรรมดามองเหตุการณ์
รู้เเละเข้าใจความเป็นไปของธรรมชาติ การที่มันเกิดเเละดับไป ไม่เที่ยง ไม่มั่นคง ของทุกขัง
6.คุณโทษทางออก
เป็นการคิดพิจารณาให้ครบทั้งคุณเเละโทษที่ตามมา
2.เเยกองค์ประกอบ
เป็นวิธีคิดเพื่อกำหนดเเยกเหตุการณ์ต่างๆให้ออกมาเป็นรูปธรรมเเละนามธรรม
7.คุณค่าเเท้ คุณค่าเทียม
เป็นการคิดพิจารณาคุณค่าหรือประโยชน์ต่างๆ
1.สืบสาวเหตุปัจจัย
เป็นวิธีคิดเพื่อพิจารณาเหตุการณ์ต่างๆให้รู้จักสภาวะความเป็นจริง
8.ปลุกเร้าคุณธรรม
เป็นการคิดมองหาส่วนดีจากเหตุการณ์ต่างๆ
9.อยู่กับปัจจุบัน
เป็นการคิดตระหนักถึงความเป็นอยู่ในปัจจุบัน
10.วิภัชชวาท
เป็นการคิดเเบบมองให้เห็นความเป็นจริง เเบ่งเป็น 6 วิธี
1.จำเเนกตามสภาวะต่างๆ
จำเเนกทีละประเด็น
จำเเนกจนครบทุกประเด็น
2.จำเเนกส่วนประกอบ
3.จำเเนกลำดับขณะ
4.จำเเนกความสัมพันธ์เเห่งเหตุปัจจัย
5.จำเเนกเงื่อนไข
6.จำเเนกการตอบปัญหา
ศิลปศาสตร์มองในเเง่เทศะ
การมองในเเง่เทศะ
1.ไม่หลงตัวเอง ไม่ลืมตัวเอง
จะต้องวิเคราะห์ให้เห็นประเด็นด้วยปัญญาว่าส่วนใดดีหรือไม่ดี เเละมีเหตุปัจจัยเป็นอย่างอย่างไรต้องพิจารณาให้เป็น
2.ไม่หลงตามผู้อื่น
ต้องรู้จักผู้อื่นตามความเป็นจริง ไม่ยึดมั่น เเต่ต้องไม่เลียนเเบบตื่นตามอย่างไร้สติ เห็นส่วนใดดีปรับมาเป็นเเบบที่ตนมีความมั่นใจในตนเอง
การรู้จักตนเอง
ต้องรู้จักวัฒนธรรมของตัวเอง โดยเฉพาะในเเง่ที่ว่าอะไร เป็นคุณค่าที่เเท้จริง อะไรควรที่จะเปลี่ยนเเปลง เเก้ไข หรือควรเสริมขึ้นมา
กาารศึกษาวิชาศิลปศาสตร์
การอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี มีความรับผิดชอบ
ยุคสมัย กาลเวลา เเละความเปลี่ยนเเปลง
การรู้เท่าทันสมัย
มีความรู้เรื่องสังคมที่เปลี่ยนเเปลงตามเหตุปัจจัย
นำความรู้มาใช้ให้เท่าทัน ไม่ตกเป็นทาสการเปลี่ยนเเปลง
เป็นผู้นำการเปลี่ยนเเปลงในทางที่ถูกต้อง
ไตรลักษณ์
ทุกขัง คือ ความเป็นทุกข์
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่เเท้จริง
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง
1.ประวัติความเป็นมาเเละความสำคัญของวิชาทั่วไป
ประวัติ
เพลโตและอริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก ได้ให้ความหมายของ วิชานี้ว่า เป็นวิชาสำหรับฝึกฝนพัฒนาให้เกิดความดีงามล้ำเลิศทางปัญญาและศีลธรรม โดยมุ่งให้มีความชำนาญในการใช้ภาษาสื่อสาร รู้จักพูด และคิดเหตุผลให้ดี
เป็นการศึกษาสำหรับชนชั้นสูงเพื่อนำไปสู่การเป็นปัญญาชนที่สมบูรณ์
โดยหมายถึงวิชาการทุกอย่าง ที่ให้ความรู้ในลักษณะที่เป็นการศึกษาทั่วไป ซึ่งไม่ใช่วิชาชีพหรือวิชาเฉพาะ หากแต่เป็นวิชาทั่วไปซึ่งมี ความหมายใกล้เคียงกับคำว่าการศึกษาทั่วไป(General Education)ที่ใช้อยู่ปัจจุบันซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา
มีมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมันซึ่งรู้จักกันในชื่อวิชาศิลปศาสตร์(Liberal Arts)
ความสำคัญ
ต้องการสร้างบัณฑิตหรือสร้างคนให้เป็นบัณฑิต และวิชาเฉพาะวิชาชีพทั้งหลายก็เป็นเครื่องมือให้บัณฑิตแต่คนใช้เครื่องมือน้ันจะต้องเป็นคนดีจะได้นำเครื่องมือ ไปใช้อย่างสร้างสรรค์
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหมายถึงหมวดวิชาท่ีเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง เข้าใจ และเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ได้กำหนดให้โครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องประกอบด้วยหมวดวิชาศึกษาทั่วไปไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายปลายทาง
มีคุณธรรม
มีความดีงาม
มีสติปัญญา
มีจริยธรรม
พัฒนาแล้วสมบูรณ์
คุณสมบัติ 3 ประการ
ปฏิบัติต่อชีวิตและสังคมได้อย่างถูกต้อง
สามารถแก้ไขและป้องกันปัญหาได้
เป็นผู้มีปัญญา รู้สัจธรรม
สมเด็จพระพุฒโฆษาจารย์ให้เเนวคิด
สร้างบัณฑิต
ให้วิชาศึกษาทั่วไปเป็นพื้นฐานชีวิต
พัฒนาการจัดการศึกษา
บัณทิต มศว. ที่พึงประสงค์
ความสามารถ 5 ด้าน
ทักษะทางปัญญา
ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
ความรู้
คุณธรรม จริยธรรม
หัวใจนักปราชญ์
จิ คือ จินตมยปัญญา เป็นปัญญาที่เกิดจากการคิด
ปุ คือ ปุจฉา หมายถึง การถาม
สุ คือ สุตมยปัญญา เป็นปัญญาที่เกิดจากการฟัง การอ่าน การรับสารจากสื่อต่าง ๆ
ลิ คือ ลิขิต หมายถึง การเขียนหรือการจดบันทึก
2.การพัฒนาบัณฑิตหรือมนุษย์ที่สมบูรณ์
รู้ได้อย่างไรว่าพัฒนาแล้วเป็นคนเต็มคน
การพัฒนาที่เป็นคนเต็มคนแล้ว
พัฒนาศีล
รู้จักสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนมนุษย์ได้อย่างสร้างสรรค์
พัฒนาจิตใจ
มีคุณธรรม เมตตากรุณา มีศรัทธา มีความเคารพ กตัญญูกตเวที มีหิริโอตัปปะ
พัฒนาปัญญา
รู้และเข้าใจสิ่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้อย่างไม่เอนเอียง ประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ไขปัญหา
พัฒนากาย
ใช้ปัจจัย 4 เป็น ใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆ เป็น
สัปปุริสธรรม
ธรรมของสัตบุรุษ (คนดี) 7 ประการ เป็นเครื่องมือตรวจสอบว่าพัฒนาเป็นคนเต็มตัวแล้ว
มัตตัญญุตา
ความรู้จักประมาณ
กาลัญญุตา
ความรู้จักเวลา
อัตตัญญุตา
ความเป็นผู้รู้จักตน
ปริสัญญุตา
ความรู้จักชุมชน
อัตถัญญุตา
ความเป็นผู้รู้จักผล
ปุคคลัญญุตา
ความรู้จักบุคคล
ธัมมัญญุตา
ความเป็นผู้รู้จักเหตุ
การศึกษาเพื่อพัฒนาคนแบบองค์รวม
เมื่อเจอประสบการณ์ใหม่ เราก็ต้องเรียนรู้ เป็นลักษณะของประเสริฐ หมายถึงบุคคลที่ได้รับการพัฒนาแบบองค์รวม
ไตรสิกขา
เป็นเครื่องมีพัฒนาชีวิตแบบบูรณาการ เพื่อให้ประสบความสำเร็จเป็นคนสมบูรณ์
สมาธิ
เป็นการฝึกจิตใจ
การพัฒนาคุณธรรม สร้างความเข้มแข็งมั่นคงในอารมณ์ การสร้างความสุข
ปัญญา
เป็นฝึกปัญญา
การไตร่ตรองอย่างมีเหตุผล การเข้าความเป็นจริง รู้เท่าทันโลก มีความสร้างสรรค์และเข้าอิสรภาพ
ศีล
เป็นการฝึกพฤติกรรม
การจัดการกับความเคยชิน การจัดระแบบความเป็นอยู่ อยู่ในสังคมที่เอื้อต่อการพัฒนาตนเอง
อริยมรรค
เป็นทางดำเนินชีวิตอันประเสริฐ ทำให้เกิดความสมบูรณ์ที่แท้ (กัลยาณมิตร + โยนิโสมนสิการ)
สมาธิ
เป็นฝึกจิตใจ
พยายามถูก ระลึกถูก มีจิตตั้งมั่น
ปัญญา
เป็นการฝึกความรู้
เข้าใจถูก คิดถูก
ศีล
เป็นการฝึกพฤติกรรม
พูดถูก ทำถูก อาชีพถูก
การพัฒนาบัณฑิตแบบองค์รวม
การพัฒนาคนทั้งคน เป็นการทำให้องค์ประต่างๆ มีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างได้สัดส่วนและมีความสมดุล ซึ่งจะทำให้บุคคลนั้นดำรงชีวิตได้ดี และมีความสุข
ปัญญา
ความรู้ ความเข้าใจ และความมีเหตุผล ประกอบด้วย ปัญญาทางโลก และปัญญาทางธรรม
พฤติกรรม
การกระทำที่แสดงต่อสิ่งแวดล้อมทางวัตถุและทางสังคม โดยผ่านการรับรู้หรือตีความตามจิตใจและปัญญา
จิตใจ
ความตั้งใจ แรงจูงใจ และภาวะของจิต บนพื้นฐานคุณธรรม
ทักษะการแก้ปัญหาตามหลักการคิดเชิงออกแบบ
เป็นกระบวนการคิดที่ใช้การทำความเข้าใจในปัญหาต่างๆ อย่างลึกซึ้ง เพื่อมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา
การระดมความคิด
การค้นหาวิธีที่จะสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ
การสร้างต้นแบบ
การนำข้อมูลวิธีการแก้ปัญหามาออกแบบและสร้างเป็นสิ่งที่จับต้องได้ หรือเรียกว่าแบบจำลอง
นิยามและตีกรอบปัญหา
การวิเคราะห์ปัญหา หาสาเหตุการเกิดปัญหา และหาผลลัพธ์ของปัญหา
การทดสอบ
การนำต้นแบบออกมาให้กลุ่มเป้าหมายได้นำไปใช้จริง และรับฟังถึงข้อดีและข้อเสีย เพื่อนำผลไปปรับปรุงและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
การเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
ทำความเข้าใจปัญหาที่ต้องการแก้ไขอย่างลึกซึ้ง
3.การพัฒนาคนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนาคน
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การทำให้บุคคลเป็นสินทรัพย์หรือเครื่องมือ ให้สามารถทำงานเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม
มุ่งพัฒนาคนในฐานะที่เป็นทุนในการพัฒนาเศรษฐกิจ
เป็นการเพิ่มผลผลิต /GDP และเน้นการพัฒนาทางด้านวัตถุ
การพัฒนาคน
มุ่งพัฒนาคนในฐานะที่เป็นคนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
การทำให้บุคคลมีชีวิตที่ดี งดงาม ประณีต มีอิสรภาพ มีความสุข มีความเป็นคนเต็มคน
แนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมทัศนคติการเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติและการมีชีวิตที่สอดคล้องกลมกลืนกับธรรมชาติ
มนุษย์
ส่งเสริมสุขภาพกายใจ ฝึกความอดทน ขยัน รับผิดชอบ พัฒนาฝีมือ ความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ
สังคม
สร้างมาตรการไม่เบียดเบียนข่มเหงส่งเสริมสร้างบรรยากาศการเกื้อกูลป้องกันคนในสถานะต่างๆ
เทคโนโลยี
สร้างและใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหา และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยตรง ให้มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น
แนวคิดการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
ยืดหยุ่นพร้อมปรับเปลี่ยน
ประเมินความเสี่ยงอยู่เสมอ
วางแผนและมีแผนสำรอง
ความรอบรู้
ความรอบคอบ ความระมัดระวัง
มีเหตุผล
ยึดการประกอบอาชีพสุจริต
ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์
ยึดความประหยัด
ไม่หยุดหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์
ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี
คุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา
พอประมาณ
พอดีด้านทรัพยาการธรรมชาติ
รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดรอบคอบ และเกิดความยั่งยืนสูงสุด
พอดีด้านเทคโนโลยี
รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องต่อความต้องการเป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อม ส่วนรวม และพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน
พอดีด้านสังคม
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู็จักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน
พอดีด้านเศรษฐกิจ
เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่พอกิน สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน
พอดีด้านจิตใจ
เข้มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม
4.ศิลปศาสตร์มองโดยความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่มนุษย์เกี่ยวข้องเพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ด้วยดี
ทิฏฐิ 3 ประการ ที่เป็นอุปสรรคสำคัญของการดำรงอยู่ด้วยดี
ทิฏฐิต่อธรรมชาติ
เป็นการมองว่ามนุษย์แยกแตกต่างจากธรรมชาติ คิดว่าตนเป็นเจ้าของ สามารถจัดการกับธรรมชาติได้ตามใจตน
ทิฏฐิในการมองมนุษย์ด้วยกัน
เป็นการมองแบ่งแยกเพื่อนมนุษย์ออกไป ไม่มองเป็นเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
ทิฏฐิในการมองจุดหมายชีวิต
เป็นการสองว่าความสุขเกิดจากการมีวัตถุบำเรอตนเอง เอาความสุขไปยึดติดกับวัตถุภายนอก เข้าใจว่าความสุขเกิดจากการมีวัตถุมาก
วิถีทางแก้ปัญหาที่ทิฏฐิทั้ง 3.ประการ
สามารถแก้โดยพัฒนาอิสรภาพ 3 ขั้น
อิสรภาพในความสัมพันธ์ที่
ถูกต้องกับเพื่อนมนุษย์
คือการอยู่ร่วมกันด้วยดีในหมู่มนุษย์ด้วยกัน ปราศจากการเบียดเบียน มีความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีความเป็นมิตรต่อกัน
อิสรภาพภายใน
คือการเข้าถึงอิสรภาพที่แท้จริง หลุดพ้นจากการครอบงำบีบบังคับของสิ่งแวดล้อม มีความสุขได้ด้วยตนเอง ไม่ใช่ความสุขแบบพึ่งพา
อิสรภาพในความสัมพันธ์ที่ถูกต้อง
กับธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
คือการมีอิสรภาพในการอยู่ร่วมกับธรรมชาติโดยปราศจากความติดขัดบีบคั้น มีชีวิตอยู่อย่างประสานกลมกลืนกับธรรมขาติ มีสภาพเกื้อกูลกัน
องค์ประกอบ 3
แห่งการดำรงอยู่ของมนุษย์
องค์ประกอบในการดำรงชีวิตของมนุษย์
สังคม
ประกอบด้วยสังคมมนุษย์ที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน รวมทั้งวัฒนธรรม กฎระเบียบ ระบบต่างๆ
มนุษย์
คือตัวของมนุษย์เอง ประกอบด้วยกายและใจ
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
คือระบบนิเวศ ซึ่งรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
ปัญหาที่กระทบต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
ปัญหาทางจิตใจ
ปัญหาทางสังคมหรือจิตวิทยา
เมื่อมีความเครียดก็จะทำให้เกิดปัญหาการกระทบกระทั่งกัน จนขัดแย้งกัน
ปัญหาทางอาชญาวิทยา
เมื่อมีความเครียด คนบางคนก็จะหันไปหาทางออกโดยพึ่งยาเสพติด ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมตามมามากมาย
ปัญหาทางการแพทย์
เกิดจากความเครียดที่เป็นตัวก่อให้เกิดโรคมากมาย เช่นโรคหัวใจ
ปัญหาทางคุณธรรมในใจคน
ทำให้เกิดการเบียดเบียน เอารัดเอาเปรียบและเมื่อไม่มีคุณธรรมยับนั้งใจ ก็จะทำตามใจตนจนอาจจะทำให้เกิดปัญหาตามมา เช่น ปัญหาสังคมต่างๆ
ปัญหาธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม
สารเคมีมีพิษต่างๆ
เกิดจากสารเคมีในยาฆ่าแมลง ซึ่งสารเคมีนี้ล้วนเป็นอันตรายต่อมนุษย์ทั้งสิ้น ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา
มลพิษ
เกิดจากคาร์บอนไดออกไซด์ที่มาจากโรงงานหรือควันรถ ซึ่งมลภาวะก่อให้เกิดปัญหามากมายทั้งเสียสุขภาพและแหล่งทำมาหากิน
Greenhouse Effect
ทำให้อุณหภูมิบนผิวโลกรวมถึงน้ำทะเลอุ่นขึ้น และเมื่อร้ายแรงอาจจะทำให้ร้ำแข็งขั่วโลกละลายและน้ำท่วมโลกได้เลย
ความเจริญของอารยธรรมมนุษย์
ยุคที่เริ่มเจริญ
ยุคเกษตกรรม
เป็นยุคที่เริ่มมีการเพาะปลูก มุนษย์จะพึ่งพาธรรมชาติในการดำเนินชีวิต คอยปรับตัวให้สอดคล้องกับธรรมชาติและหล่อยให้ธรรมชาติดำเนินไปตามวิถีของมัน ใช้ชีวิตอย่างกลมกลืนกับธรรมชาติ
ยุคอุตสาหกรรม
ยุคใหม่ หรือยุคของสารวิทยา
เป็นยุคที่คนเริ่มมีทรรศนะแบบองค์รวม ส่วนประกอบต่างๆมีความสัมพันธ์เกื้อหนุนกันและข่าวสารข้อมูลเข้ามามีบทบาทสำคัญกับมนุษย์ ทำให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สิ่งต่างๆได้
จุดเสียของการที่เรามีวิทยาการเก่งกาจคือทำให้มัวหลงกับความเก่งกล้า มุ่งแต่จะเอาชนะธรรมชาติและลืมเป้าหมายเดิมที่ต้องการเชื่อมโยงสิ่งต่างๆเข้าหากัน ความรู้จึงแตกแยก ไม่ประสานกลมกลืน
ยุคปัจจุบัน
เป็นยุคที่เรานำความคิดต่างๆของทุกยุคมาปรับใช้
มีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ความรู้สิ่งต่างๆที่ถูกแยกย่อยเป็นด้านๆ และใช้ประโยชน์จากความรู้นั้นรักษาและฟื้นฟูความสมดุลภายในองค์รวม
ยุคอุตสาหกรรม
เป็นยุคที่มีการพัฒนาวิทยาการเพื่อเอาชนะธรรมชาติและพยายามทำตัวให้เหนือกว่าธรรมชาติ เพื่อจะสามารถควบคุมปัญหาที่เกิดจากธรรมชาติ
การเอาชนะธรรมชาติ ทำให้เกิดการเจริญทางวิชาการเป็นด้านๆ และได้สร้างปัญหาให้กับธรรมชาติมากมาย และปัญหาธรรมชาตินั้นก็ส่งผลกลับมาเป็นปัญหาแก่มนุษย์เอง เป็นเหตุให้ยุคอุตสาหกรรมสิ้นสุดลง
อิสรภาพในความหมายที่ถูก ต้องเป็นฐานของระบบความสัมพันธ์ที่ประสานกลมกลืน
การมีอิสรภาพของมนุษย์นั้นคือการที่มนุษย์พึ่งพาการมีความสุขจากภายนอกน้อยที่สุด มีความสุขได้ด้วยตนเอง
การพัฒนาจนเข้าถึงอิสระภาพจะทำให้มนุษย์หลุดพ้นจากความหวงแหน 5 ซึ่งเป้นสิ่งที่บ่งบอกว่ามนุษย์มีความเจริญมากน้อยเพียงใด
ความหวงแหนที่อยู่อาศัย ประเทศ ดินแดน
ความหวงแหนพรรคพวก ชาติพันธุ์ ศาสนา
ความหวงแหนวิทยาการความรู้ ความก้าวหน้า
ความหวงแหนทรัพย์สมบัติ ผลประโยชน์ต่างๆ
ความหวงแหนกีดกันชนชั้นวรรณะ ผิวพรรณ
การมีอิสระที่ถูกต้องสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ คือใช้ธรรมชาติอย่างเกื้อกูล เสพวัตถุภายนอกอย่างพอดี ไม่ลุ่มหลง
สัมพันธ์กับด้านสังคม คือเพื่อนมนุษย์เกื้อกูลกัน ให้อิสระกันและกัน ทำให้ต่างฝ่ายต่างม่อิสรภาพทางสังคม เพื่อให้ทักคนได้มีโอกาสเข้าถึงอิสรภาพภายใน ซึ่งจะทำให้มนุษย์จัดการตนได้อย่างถูกต้อง พ้นจากอำนาจกิเลส
6.ศิลปศาสตร์มองในแง่การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ และศิลปศาสตร์มองในแง่การพัฒนาปัญญาที่เป็นแกนของการพัฒนาศักยภาพ และการเข้าถึงอิสรภาพ
ศิลปศาสตร์มองในแง่การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์
ศิลปศาสตร์เป็นท้ังเครื่องพัฒนาและเครื่องมือรับใช้ศักยภาพของมนุษย์
พระพรหมคุณาภรณ์ ได้อธิบายว่า เมื่อเราพัฒนาศักยภาพมนุษย์ของมนุษย์ขึ้นมาแล้ว เราก็เอาสิ่งที่ใช้พัฒนาศักยภาพนั่นแหละมารับใช้ศักยภาพของเรา ในการสร้างสรรค์ ทำให้เกิดคุณค่าเป็นประโยชน์แก่ชีวิตและสังคมต่อไป
ศิลปศาสตร์เป็นเนื้อเป็นตัวของการศึกษา
ศิลปศาสตร์ เป็นวิชาจำพวกการศึกษาที่จะพัฒนาศักยภาพพื้นฐานของมนุษย์ ความพร้อมที่จะดำเนินชีวิตและปฏิบัติต่อสิ่งอื่นหรือคนอื่นได้โดยทั่วไป การรู้จักความดี รู้จักความงาม การที่จะมีชีวิตอันเป็นสุข สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเนื้อหาสาระของวิชาศิลปศาสตร์ทั้งสิ้น
ศิลปศาสตร์ในแง่การพัฒนาปัญญาที่เป็นแกนของการพัฒนาศักยภาพและการเข้าถึงอิสรภาพ
ปัญญาในฐานะแกนกลางของการพัฒนาศักยภาพ
แกนกลางแห่งศักยภาพของมนุษย์ที่เราต้องการแท้จริง คือ ปัญญา ที่จะทำให้เรารู้ความจริงของธรมมชาติ ทำให้เราเข้าถึงสัจธรรม เมื่อเราเข้าใจถึงสัจธรรม รู้ความจริงของสิ่งทั้งหลายแล้ว เราก็จะได้เอาความรู้ในความจริงนั้น มาใช้ประโยชน์
คิดเป็นและคิดชัดเจน เป็นสาระของการพัฒนาปัญญา
เมื่อศึกษาเรื่องราว หรือปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ใช่เห็นในแง่มุมเดียว แต่เห็นรอบด้าน ที่เกิดจากความชัดเจนในแต่ละเรื่องแต่ละด้าน แล้วมาโยงเป็นภาพรวมที่สมบูรณ์ชัดเจนอีกครั้ง
ภาพรวมที่ชัดเจน เกิดจาก
รู้จักพิจารณา
รู้จักเลือกรับข้อมูล
รู้จักใช้ปัญญา
รู้จักสืบสวนค้นคว้า
การพัฒนาปัญญามีจุดหมายเพื่ออิสรภาพ
ความรู้ของมนุษย์
ปัญญา
เป็นความรู้ความเข้าใจที่เกิดขึ้นภายในตัวเอง
สุตะ
เป็นความรู้ประเภทเล่าเรียน และความรู้ที่สั่งสมอย่างเดียว
ปัญหาพื้นฐานของชีวิตและของมนุษย์ทั้งหมด ได้แก่ ความติดขัดคับข้องบีบคั้น ซึ่งเกิดจากความไม่รู้ความจริงของโลกและชีวิต จึงทำให้เกิดความทุกข์
อวิชชา หมายถึง ภาวะที่เราไม่รู้แท้จริงเกี่ยวกับโลกและชีวิต ทำให้วางทัศนคติต่อโลกและชีวิตไม่ถูกต้อง
อิสรภาพ
เกิดจาก
รู้จักและเข้าสิ่งทั้งหลายจนเข้าถึงความจริงของชีวิตและโลก แล้วปฏิบัติต่อสิ่งเหล่านั้นได้ถูกต้อง
ความหมาย
ความไม่ติดขัดบีบคั้น แก้ปัญหาได้หรือไม่เกิดปัญหา ความลุล่วงปรุโปร่งปลอดพ้นไป เป็นอิสระ
ศิลปศาสตร์เพื่อการพัฒนาปัญญาที่ได้ผล
ประการที่ 2
ความสามารถในการคิดให้ขัดเจนในแต่ละเรื่อง
ประการที่ 3
ความสามารถในการโยงความรู้และความคิดแต่ละด้านเข้ามาหากันให้เกิดภาพรวมที่ชัดเจน
ประการที่ 1
ความสามารถในการแสวงหาความรู้โดยเลือกรับข้อมูลให้ได้ความรู้จริง
ไตรสิกขาเพื่อการพัฒนาปัญญา
ความหมาย
หลักการศึกษาหรือการฝึกฝนอบรม ซึ่งกำหนดเพื่อแก้ปัญหาหรือทำให้ปลอดทุกข์
องค์ประกอบ
ศีล
การรักษาระเบียบวินัยดี มีศีลแล้ว ก็เป็นการง่ายที่จะผูกจิตให้มุ่งแน่วแน่อยู่กับคุณธรรม ความดีงาม
เช่น
ให้ยึดมั่นในอุดมคติ
ให้มีสติรู้จักยั้งคิด
สมาธิ
ความหมาย
ความแน่วแน่มั่นคงหนักแน่นของจิตใจ
วิธีฝึกคนในขั้นสมาธิ
เช่น
ฝึกคนให้ยุ่งกับกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ไม่ให้โอกาสเกี่ยวข้องกับความชั่ว
วิธีเอาความดีเข้ามาข่มความชั่ว
ฝึกให้คุ้นกับสิ่งที่ดีงามจนมีคุณธรรมเป็นภูมิต้านทานหรือผูกมัดจิตไว้กับสิ่งที่ดีงามบางอย่างแบบที่เรียกว่าให้มีอุดมคติ
ปัญญา
ความหมาย
ภาวะของผู้ที่มีหลักความประพฤติถูกต้อง คือ มีความประพฤติดีทางกาย วาจา และสัมมาชีพ
การสร้างภาวะเกื้อกูลแก่การกำจัดอวิชชา และปัจจัยสนับสนุนการสร้างปัญญาด้วยระบบความประพฤติและการดำเนินชีวิตที่ดี
ยับยั้งควบคุมตัณหาให้อยู่ในขอบเขต ปิดช่องทางไม่ให้โอกาสขยายตัวแก่ตัณหา
สร้างความสัมพันธ์ทางสังคมที่ดี ความเป็นอยู่ และภาวะปลอดโปร่งโล่งใจ
องค์ประกอบทางสังคมและภายในบุคคล
กัลยาณมิตร
เป็นองค์ประกอบภายนอก ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ดี
โยนิโสมนสิการ
เป็นองค์ประกอบภายใน ซึ่งควบคู่ไปกับองค์ประกอบภายนอก ได้แก่ การใช้ความคิดถูกวิธี คือ คิดสืบสาวให้ถึงต้นตอ ตามหลักความสัมพันธ์แห่งองค์ประกอบและเหตุปัจจัยต่างๆ