Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากพลังงาน
2.1 ผลกระทบจากขั้นตอนการผลิต (Environmental impact of energy production)
2.1.1 การผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินลิกไนต์และน้ํามันเตา ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศมาก การเผาไหม้จะก่อให้เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2 ) การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงยังทําให้เกิดออกไซด์ของไนโตรเจน (NOX)
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) และก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์(CO)
2.1.2 การใช้พลังน้ําเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ถึงแม้จะจัดเป็นพลังงานสะอาด และราคาต้นทุนต่ํา
2.1.3 กระบวนการผลิตน้ํามันและก๊าซธรรมชาติการขุดเจาะน้ํามันและก๊าซธรรมชาติมักจะประสบปัญหาที่ส่งผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งขุดเจาะ
2.2. ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการใช้พลังงาน (Environmental impact of energy consumption)
2.2.1 การคมนาคมขนส่ง การทํางานของเครื่องยนต์ที่ใช้น้ํามันเบนซินจะปล่อยและควันเสียออกมา
2.2.3 อุตสาหกรรม เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใช้น้ํามันเตาและถ่านหินลิกไนต์ซึ่งมีปริมาณกํามะถันสูง ก่อให้เกิด
ฝุ่นละออง ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และก๊าซไนโตรเจนออกไซด์
2.3 ผลกระทบจากประเภทของพลังงานที่ใช้ (Environmenta impact of the type of energy used)
2.3.2 การใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม การเผาไหม้ปิโตรเลียมจะก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ
2.3.3 การใช้ถ่านหินลิกไนต์มีทั้งการทําเหมือง และการเผาไหม้เนื่องจากสมบัติและองค์ประกอบของถ่านหินเอง
2.3.1 การใช้พลังงานนิวเคลียร์รังสีที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์อาจรั่วไหลซึ่งเป็นอันตรายมาก
2.3.4 การใช้กังหันลม ถึงแม้การใช้พลังงานลมจะไม่ก่อให้เกิดมลภาวะร้ายแรงใด ๆ ต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากพลังงานลมค่อนข้างเป็นพลังงานบริสุทธิ์ แต่ในการพัฒนาแหล่งพลังงานชนิดนี้มาใช้เป็นพลังงานทดแทนนั้นควรคํานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
2.3.5 การใช้พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานความร้อนใต้พิภพเป็นพลังงานได้เปล่าจากธรรมชาติ สามารถนํามา
ผลิตกระแสไฟฟ้าที่มีต้นทุนต่ําได้แต่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน (Global warming)
3.1 ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
3.1.2 ด้านเศรษฐกิจ ธุรกิจท่องเที่ยวทางทะเลที่สําคัญจะสูญเสียรายเนื่องจากชายฝั่งเกิดการกัดเซาะ และแนวประการังสูญหายไป ในทวีปเอเชียมีโอกาส 66-90 % ที่อาจเกิดฝนและมรสุมรุนแรง รวมถึงเกิดความแห้งแล้งในฤดูร้อนที่ยาวนาน
3.1.3 ด้านสุขภาพ ภาวะโลกร้อนขึ้นทําให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูของพืชที่เป็นอาหารของมนุษย์บางชนิด โรคเขตร้อนที่มียุงเป็นพาหะนําโรคจะแพร่กระจายไปยังเขตอบอุ่นได้
3.1.1 ด้านนิเวศวิทยา ภาวะโลกร้อนทําให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น ฤดูร้อนยจะยาวนานขึ้น ในขณะที่ฤดูหนาวจะสั้นลงภูเขาน้ําแข็งบริเวณขั้วโลกได้รับผลกระทบ น้ําแข็งละลายอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ระดับน้ําทะเลเพิ่มขึ้นและไหลสู่มหาสมุทรและทะเลอื่น ๆ ทั่วโลก ทําให้เกิดน้ําท่วม
3.2 วิธีการแก้ไขและป้องกันภาวะโลกร้อน
วิธีการแก้ไขภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นจากการใช้ทรัพยากรฟุ่มเฟือยของมนุษย์
การใช้หลอดไฟฟ้าแบบคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ช่วยประหยัดไฟฟ้าได้มากกว่าหลอดไส้ถึง 80%
การใช้ฝักบัวชนิดประหยัดน้ํา
ขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะช่วยลดการใช้น้ํามันลงได้20%
ใช้วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ และอาหารที่ผลิตในท้องถิ่นหรือประเทศ
ปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มตัวดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์
ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสัญลักษณ์ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม
ระดับปัญหาสิ่งแวดล้อม
1.2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับประเทศหรือภูมิภาค (Regional environmental issues)
1.3 ปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับโลก (Global environmental issues)
1.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับท้องถิ่น (Local environmental issues)