Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเครื่องมือประเมินการ เรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย - Coggle Diagram
การสร้างเครื่องมือประเมินการ
เรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย
ลักษณะของข้อสอบเลือกตอบ
แบบคำถามโดด
แบบตัวเลือกคงที่
3.แบบสร้างสถานการณ์
รูปแบบข้อสอบ
เลือกตอบ
เลือกตอบเชิงซ้อน
ตอบสั้น ๆ แบบปิด
ตอบอิสระ แบบเปิด
สถานการณ์บริบท
บริบทส่วนตัว
บริบททางการงานอาชีพ
บริบททางสังคม
บริบททางวิทยาศาสตร์
การประเมินคุณภาพข้อสอบ
คุณภาพคำถาม
มีความปรนัย
ขีดเส้นใต้คำ/ข้อความปฏิเสธ
เป็นประโยคที่สมบูรณ์
กะทัดรัดชัดเจน
ไม่ชี้แนะคำตอบ
ไม่ใช้ประโยคปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ
ใช้ภาษาเหมาะสมกับผู้สอบ
คุณภาพของเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นในการประเมินเป็นหัวใจสำคัญของเรื่องนั้น
ระดับคะแนนครอบคลุมตั้งแต่ แย่ที่สุด (poor) จนถึงดี เลิศที่สุด (excellent)
คำอธิบายคุณภาพเป็นรูปธรรม สามารถมองเห็นและสังเกต ได้ หลีกเลี่ยงคาอธิบายที่เป็นนามธรรม มีความเป็นปรนัย อ่านแล้วเข้าใจตรงกัน ระดับคะแนนต่อเนื่องและเท่ากัน
คำอธิบายคุณภาพใช้คำสั้นกระชับ ไม่ฟุ่มเฟือย
ใช้คำหรือภาษาที่คู่ขนานกันตลอดทุกช่วงของมาตรวัด
กำหนดน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ตามจุดเน้นหนักเบา
ของ ผลงาน หรือสมรรถภาพ
ต้องมีความเที่ยงตรง
ข้อสอบตรงตามระดับการคิด/พฤติกรรมที่ต้องการวัด
ตรงตามเนื้อหาที่ต้องการวัด มาตรฐานผลการเรียนรู้ และ จุดประสงค์การเรียนรู้
คุณภาพตัวเลือก
ไม่มีคำ ข้อความซ้ำๆ ในตัวเลือกทุกตัว
มีคำตอบถูกที่อธิบายหรือมีที่มาตามหลักวิชา ปราศจากข้อโต้แย้ง
เรียงลำดับอย่างมีระบบ
มีคำอธิบายหรือที่มาของตัวลวงตามหลักวิชา
มีความเป็นเอกพันธ์
คุณภาพของสถานการณ์
กระตุ้นให้คิด
ข้อมูลหรือเงื่อนไขที่ครบ รัดกุม เพียงพอที่จะใช้หาคำตอบ
เป็นสถานการณ์ชีวิตจริง
คุณภาพของเฉลยหรือแนวคำตอบ
เฉลยหรือแนวคำตอบถูกต้อง
เฉลยหรือแนวคำตอบครอบคลุม
องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบแนวใหม่
สถานการณ์
โจทย์ข้อคำถาม
คำตอบ
รูปแบบข้อสอบชนิดเลือกคำตอบ
จับคู่
ถูกผิด
เลือกตอบ
การอ่านข้อเขียนรูปแบบต่าง ๆ
ชนิดของบทความ
โครงสร้างทางภาษา
แผนภูมิ
กราฟ
แผนภาพ
คำชีแจง
การโต้แย้ง
ข้อความแบบต่อเนื่อง
ข้อเขียนที่ไม่ใช่ข้อความต่อเนื่อง
รูปแบบของข้อสอบชนิดสร้างคำตอบ
ข้อสอบความเรียง
ข้อสอบแบบเติมคำ
ข้อสอบแบบตอบสั้น
PISA
ประเมินสมรรถนะที่เรียกว่า Literacy ซึ่งในที่นี้จะ ใช้คาว่า “การรู้เรื่อง” และ PISA เลือกประเมินการรู้ เรื่องในสามด้าน
การรู้เรื่องการอ่าน
การรู้เรื่องคณิตศาสตร์
การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
กำหนดจุดมุ่งหมายของการสอบ
ออกแบบการสร้างแบบทดสอบ
เขียนข้อสอบ
ทดลองใช้และวิเคราะห์ข้อสอบ
นำแบบทดสอบไปใช้
วิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบ
ปรับปรุงแบบทดสอบ