Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก - Coggle Diagram
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก
อาการเจ็บหน้าอก
Cardiac tamponade
ซักประวัติ อาการเจ็บแน่นหน้าอกตลอดเวลาประวัติอุบัติเหตุ การบาดเจ็บของทรวงอกโรคที่ทําให้เกิดน้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ เช่นหัวใจล้มเหลว
การรักษา• ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask C bag ตาม O2 Saturation• ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ำตามความเหมาะสม เพื่อhemodynamic support• กรณีที่มีความดันโลหิตตกหรือมีภาวะช็อคในช่วงแรกควรให้ IV fluidอย่างเร็วเมื่ออาการดีขึ้นจึงปรับลดปริมาณ IV fluid ลง• ส่งต่อทันที
การตรวจร่างกาย• อาการเหนื่อยอ่อนเพลีย• กระสับกระส่ายระดับความรู้สึกตัวลดลง• ปัสสาวะลดลง• neck veinengorgement• ความดันโลหิตตก• หัวใจเต้นเร็ว เสียงหัวใจเบาลง
Acute Coronary Syndrome
การรักษา • พักผ่อน(Rest) ให้เคี้ยวและกลืน aspirin 325 mgทันทีโดยเคี้ยวและกลืน1 เม็ด
• ให้อมยา nitroglycerine 5 mg.ห้ามให้ในผู้ป่วย
มีภาวะ hypotension
• ถ้าshock หรือหยุดหายใจให้ดําเนินการช่วยฟื้นคืนชีพ• ส่งต่อทันที
ซักประวัติ เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอกทันทีทันใด เกิดขณะนอนพักหรือหรืออกแรงแต่ส่วนมากเจ็บหน้าอกขณะพักนาน20 - 30 นาที มีเหงื่อออกหรือคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วยได้
การตรวจร่างกายมีreferred
pain• พบ arrythmia• ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง`murmur
• ตรวจคลื่นไฟฟ้า หัวใจอาจพบ Non-ST-Elevation MIหรือพบ Q-wave STelevation MI
Pericarditis
ซักประวัติ• เจ็บหน้าอกแบบsharp pain มีการปวดร้าวไปหลังsternum• กระจายไปคอ หลังไหล่ซ้าย เจ็บมากขึ้นมาไอหายใจเข้าลึกกลืนอาหารหรือนอนหงาย• เจ็บน้อยลงมานั่งหรือก้มตัวไปข้างหน้า
การตรวจร่างกาย• ตรวจพบ pericardial friction rub• คลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบdiffuse ST segment elevation,depressed PRsegment
การรักษา• ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask C bag ตาม O2 Saturation• ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ำตามความเหมาะสม เพื่อhemodynamic support• กรณีที่มีความดันโลหิตตกหรือมีภาวะช็อคในช่วงแรกควรให้ IV fluidอย่างเร็วเมื่ออาการดีขึ้นจึงปรับลดปริมาณ IV fluid ลง• ส่งต่อทันที
Angina pectoris
ซักประวัติ เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอก2-3 นาทีและมักไม่เกิน15นาที• มีอาการเมื่อออกแรงอย่างหนัก• อาการดีขึ้นเมื่อพัก• ประวัติ HT, DM,DLP
การตรวจร่างกาย• อาการเจ็บหน้าอกแบบ angina pectoric•มีอาการ referred pain ไปกราม แต่ไม่เกิน temporo-mandibular joint ไหล่ คอและแขนและไม่ต่ำกว่าสะดือ
การรักษา พักผ่อน(Rest) ให้เคี้ยวและกลืน aspirin 325 mgทันทีโดยเคี้ยวและกลืน1 เม็ดให้อมยา nitroglycerine 5 mg.ห้ามให้ในผู้ป่วย
มีภาวะ hypotensionถ้าshock หรือหยุดหายใจให้ดําเนินการช่วยฟื้นคืนชีพ• ส่งต่อทันที
Acute aortic dissection
ซักประวัติ เจ็บหน้าอกแบบsharp painทันทีทันใดและรุนแรงตั้งแต่เริ่มแรกเหมือนการฉีกขาดบริเวณกลางหน้าอกและปวดทะลุไปหลัง ส่วนใหญ่มีประวัติHT
การรักษา• ประเมินความรู้สึกตัว ABCs• ให้ absolute bed rest เพื่อลดการฉีกขาดเพิ่มขึ้น• ให้ Morphine 3 – 5 mg IV dilute ทุก10 – 15 นาทีตามคําสั่งแพทย์• ส่งต่อทันที
การตรวจร่างกาย• พบชีพจรที่คอ ขา-แขนอาจไม่เท่ากัน• ความดันโลหิตสองข้างไม่เท่ากันหรือแตกต่างกันมากกว่า10 มิลลิเมตรปรอท• รายที่มีการแตกของaorta จะพบBP ตกหรือภาวะ shock• พบอาการซีดเขียวเย็นของแขน-ขาได้• รายที่แตกเซาะไปจนถึง carotid arteryจะคลําชีพจรได้เบาและฟังได้เสียงฟู่
ระบบทางเดินหายใจ
Pneumonitis
การตรวจร่างกาย • อาการหอบเหนื่อย• พบ pleural friction rubฟังปอดได้ยินเสียง crepitation
• ไข้ ไอมีเสมหะ
การรักษา• ประเมิน ABCs และ V/S ให้พักผ่อน(Rest) ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask c bag ตามค่าO2 Saturation• ส่งต่อทันที
-
pulmonary embolism
การตรวจร่างกาย• อาการหอบเหนื่อย• ปอดด้านที่มีพยาธิสภาพขยายตัวลดลง เสียงหายใจลดลง• มีtrachea เอียง พบ neck vein engorgement• พบอาการ cyanosis ออกซิเจนในเลือดต่ำ• หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตตก
การรักษา•ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ประเมินสัญญาณชีพ•ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask c bag ตามค่า O2 Saturation•ให้ Ifluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ำ เพื่อ hemodynamic support •ส่งต่อทันที
ซักประวัติ มีอาการเจ็บหน้าอก รุนแรงทันทีทันใด• หอบ หายใจลําบาก• ประวัติอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บของทรวงอก
Pneumo-thorax
ซักประวัติ• อาการเจ็บปวดแปลบๆเป็นมากเมื่อหายใจเข้าออกลึกๆมีปัจจัยเสี่ยงต่อ deep vein thrombosis(ผู้ป่วยติดเตียง /เคยผ่าตัดเกี่ยวกับสะโพก/มีการบาดเจ็บบริเวณขา)
การตรวจร่างกาย• อาการหอบเหนื่อย ตรวจพบ pleuritic chest pain• มีอาการหัวใจเต้นเร็ว มีอาการ cyanosis• พบภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
การรักษา•เคี้ยวและกลืน aspirin 325mg ทันทีโดยเคี้ยวและกลืน1 เม็ดและกลืน1 เม็ด (ไม่มี bleeding precaution)•ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask c bag ตามค่า O2 Saturation•ให้ IV fluid •ส่งต่อทันที
-
ระบบทางเดินอาหาร
-
Esophageal spasm
ซักประวัติ• มีอาการเปรี้ยวในคอ เจ็บคอ แสบลิ้นหรือไอเรื้อรัง อาหารไม่ย่อย ท้องอืด • เกิดอาการหลังรับประทานอาหารหรือตอนนอนราบ• พฤติกรรม สูบบุหรี่ รับประทานอาหารเผ็ด อาหารมัน ดื่มชา กาแฟ
การตรวจร่างกาย• ปวดแสบร้อน(heart burn) บริเวณepigastrium30-60 นาทีหลังอาหาร/ หลังกินอาหารแล้วล้มตัวนอน
การรักษาให้ Aluminum hydroxide 15 ml. qid. pc หลังอาหาร 1 ชั่วโมง•Ranitidine 150 mg.ทุก 12 ชั่วโมง• หากท้องอืดให้Simethicone1-2 tab qid. pc และhs. (ไม่เกิน 500 mg./day)หรือให้M. carminative 1-2 ช้อนโต๊ะtid. /qid. pc หลังอาหาร• ให้ยา 1 สัปดาห์นัดติดตามอาการหากดีขึ้นให้ยารับประทานต่อ 2 เดือน• ส่งต่อเมื่ออาการไม่ดีขึ้น