Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ :, ลักษณะสำคัญของการประเมินภาคปฏิบัติ -…
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
:
ความหมายของการวัดผลและประเมินผล
การวัดผล
หมายถึง กระบวนการในการแสวงหาข้อมูลเชิงปริมาณหรือคุณภาพของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
การประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
หมายถึง เป็นกระบวนการที่ต้องทำต่อเนื่องกันเป็นลำดับ โดยจะไม่แยกจากกันเลยจึงมักเรียกรวมๆว่า “การวัดผลประเมินผล”ซึ่งเป็นเสมือนคำศัพท์เดียวกัน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า วัดผล….เพื่อนำไปประเมินผล
หมายถึง การนำผลที่ได้จากการวัดผลมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้และพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งลงไป
ความมุ่งหมายของการวัดผลและประเมินผล
เพื่อตรวจสอบพื้นฐานการเรียนของผู้เรียน
เพื่อกระตุ้นและจูงใจการเรียนของผู้เรียน
เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน
คุณลักษณะบางประการของการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลประเมินผลเป็นการวัดโดยทางอ้อม
คุณลักษณะบางประการในตัวผู้เรียนเช่น เชาวน์ปัญญาหรือทัศนคติก็ดีเป็นสิ่งที่เป็นนามธรรม ดังนั้นเราจึงมิอาจใช้เครื่องมือ เช่น เครื่องวัด เครื่องตวง การวัดคุณลักษณะที่เป็นนามธรรมดังกล่าวจะต้องวัดโดยทางอ้อม เช่น จะวัดสติปัญญาก็ต้องวัดผลจากการทำข้อทดสอบ เป็นต้น
การวัดผลและประเมินผลเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์
จากตัวอย่างในข้อ 1. หากเราต้องทราบน้ำหนักของผู้เรียนคนใดคนหนึ่ง เราก็ทำการชั่งให้ได้ตัวเลขค่าใดค่าหนึ่งซึ่งมีความสมบูรณ์ในตัว บ่งบอกถึงน้ำหนักของผู้เรียนคนนั้น แต่ในการวัดสติปัญญาของผู้เรียน เช่น ความสามารถในด้านคำศัพท์เรามิอาจนำคำศัพท์ในพจนานุกรมทั้งหมดมาทดสอบผู้เรียนได้เราทำได้แต่เพียงคัดเลือกคำศัพท์มาเพียงจำนวนหนึ่ง เช่น 30-60 คำมาบรรจุไว้ในแบบทดสอบเท่านั้น แบบทดสอบที่ได้ย่อมขาดความสมบูรณ์
การวัดผลและประเมินผลมีความคลาดเคลื่อน
การวัดผลประเมินผลเป็นงานสัมพัทธ์
หากมีผู้เรียนคนหนึ่งสอบวิชาภาษาไทยได้ 50 จาก 100 คะแนน และทำวิชาคณิตศาสตร์ไม่ได้คะแนนเลยเรายังกล่าวมิได้ว่าเขาอ่อนวิชาภาษาไทย เพราะทั้งนี้ข้อสอบอาจยากเกินไป ในกรณีวิชาคณิตศาสตร์ แม้ผู้เรียนคนนี้จะทำคะแนนไม่ได้เลย เราก็ยังสรุปไม่ได้ว่าเขาไม่มีความรู้ในวิชานี้เลย เรามิอาจสรุปอย่างใดอย่างหนึ่งจากผลคะแนนดังกล่าวได้ เพราะการวัดผลประเมินผล เป็นงานสัมพัทธ์คะแนนที่ได้ยังไม่มีความหมายใดๆ จนกว่าจะนำมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ หรือประเมินกับกลุ่มตัวอย่าง ก็ได้แก่กลุ่มผู้เรียนทั้งห้องนั้นเอง
คะแนนที่ได้จากการวัดผลย่อมแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ คะแนนจริง และคะแนนความคลาดเคลื่อน ซึ่งเราไม่สามารถแยกคะแนนทั้ง 2 ส่วนให้ออกจากกันโดยสิ้นเชิงได้
การประเมินผลในสภาพจริง
การวัดผลประเมินผลมีจุดมุ่งหมายที่สำคัญ
ลักษณะสำคัญ
เป็นการประเมินที่กระทำไปพร้อมๆกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียน
เป็นการประเมินที่ยึดพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนที่แสดงออกมาจริงๆ
เน้นการพัฒนาผู้เรียนอย่างเด่นชัดและให้ความสำคัญในการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน
เน้นการประเมินตนเองของผู้เรียน
ตั้งอยู่บนพื้นฐานของสถานการณ์ที่เป็นชีวิตจริง
ใช้ข้อมูลที่หลากหลาย มีการเก็บข้อมูลระหว่างการปฏิบัติในทุกด้าน
เน้นคุณภาพของผลงานที่ผู้เรียนสร้างขึ้น
เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง
ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์เชิงบวก
เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครอง
คือ ต้องการค้นพบข้อบกพร่องของผู้เรียน เพื่อที่จะได้หาวิธีการแก้ไขข้อบกพร่องนั้นๆ การประเมินผลตามสภาพจริง เป็นการประเมินผลที่ตรงกับจุดมุ่งหมายดังกล่าวข้างต้น และเป็นการประเมินผลที่สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ขอบข่ายการประเมินตามสภาพจริง
สิ่งที่ประเมิน
ผลผลิต ผลงาน
การแสดงออกถึงผลของความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะและเจตคติ
กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทำงาน
ประเมินเมื่อใด
ประเมินอย่างต่อเนื่อง ตามสภาพที่แท้จริง เป็นธรรมชาติตลอดเวลา
วิธีการประเมิน
การสังเกต
การสัมภาษณ์
การตรวจงาน
การทดสอบ
บันทึกจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
1 more item...
ผู้ประเมิน
ผู้เรียนประเมินตนเอง
ผู้สอน เพื่อน/กลุ่มเพื่อน
ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน
การประเมินภาคปฏิบัติ
คือ การทดสอบความสามารถในการทำงานของผู้เรียนภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไขที่สอดคล้องกับสภาพจริงมากที่สุด
สิ่งสำคัญที่จะประเมินภาคปฏิบัติ
การประเมินผลผลิต (product) ผลผลิตในที่นี้ หมายถึง งานที่เป็นผลจากการแสดงหรือการกระทำของผู้เรียน เช่น พิจารณาจากคุณภาพงาน รูปลักษณะของผลงาน
การประเมินกระบวนการ (process) กระบวนการ หมายถึง วิธีการที่ผู้เรียนใช้ดำเนินการเพื่อให้ได้ผลผลิตหรืออาจจะเป็นงานส่วนหนึ่งซึ่งไม่ใช่ผลผลิต
มีการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวัดอย่างชัดเจน
มีการกำหนดวิธีการทำงาน
มีการกำหนดความสำเร็จของงาน
มีคำสั่งควบคุมสถานการณ์ในการปฏิบัติงาน
มีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน
มีการประเมินพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของการปฏิบัติงาน
เทคนิคและวิธีการประเมิน
การประเมินรายบุคคล เป็นการพิจารณาความก้าวหน้าของผู้เรียนรายบุคคลในห้องเรียนหรือในกลุ่ม
การประเมินกลุ่ม เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของผู้เรียนในสถานการณ์กลุ่ม
การประเมินตนเองและเพื่อน จะทำให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการประเมินงานของตนเองและของเพื่อนร่วมห้อง
เครื่องวัดภาคปฏิบัติ
การเขียน เป็นการวัดการประยุกต์ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับการเขียน เช่น การเขียนแบบ การสร้างแผนที่
การจำแนกและระบุกระบวนการปฏิบัติ เป็นการระบุชื่อเครื่องมือ ชิ้นส่วน ขั้นตอนการทำงาน หรือจำแนกสิ่งที่ไม่เหมือนกัน
การสร้างสถานการณ์จำลอง เป็นการสอบวัดโดยกำหนดสถานการณ์ที่คล้ายสถานการณ์จริงมากที่สุดให้ผู้เรียนแก้ปัญหา
การกำหนดตัวอย่างงาน ครูให้ผู้เรียนศึกษาตัวอย่างงานแล้วทำตามแบบให้เหมือนหรือดีกว่า
เกณฑ์การประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ประเมินภาคปฏิบัติของผู้เรียน เรียกว่า รูบริค หมายถึง การสร้างเกณฑ์ขึ้นเพื่อพิจารณาลักษณะสิ่งสำคัญได้แก่ เกณฑ์การให้คะแนน ซึ่งจะต้องกำหนดมาตรวัดและรายการคุณลักษณะที่บรรยายถึงสามารถในการแสดงออกของผู้เรียนในแต่ละระดับ
วิธีการวัดผล
การสังเกต
การสังเกต หมายถึง การฟังด้วยหู ดูด้วยตา เพื่อที่จะประเมินดูว่าการทำงานและการปฏิบัติงานของผู้เรียนเป็นอย่างไร อยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจหรือมีข้อบกพร่องที่จะต้องแก้ไข ซ้อมเสริมหรือไม่ ส่วนใหญ่แล้วจะใช้การสังเกตเมื่อต้องการจะประเมินผลพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
ด้านทักษะพิสัย ได้แก่ การทำงานโดยทั้งๆไป เล่นกีฬา วาดภาพ เล่นดนตรีงานฝีมือ การพูด ฟัง อ่าน และเขียน
ด้านจิตพิสัย ได้แก่ นิสัยการทำงาน ความสนใจ และความซาบซึ้ง
การสัมภาษณ์
หมายถึง
การหาข้อมูลด้านการพูดคุย ซักถาม กับบุคคลที่เราต้องการได้ข้อมูลโดยตรง เป็นกิจกรรมหลักอย่างหนึ่งในกระบวนการเรียนการสอน มีการสนทนาโต้ตอบระหว่างกัน เป็นวิธีการประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ดีวิธีหนึ่ง
การตรวจผลงาน
เป็นการวัดผลที่สอดคล้องกับหลักการประเมินผลตามสภาพจริงและมีความสัมพันธ์อย่างยิ่งกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน
มอบหมายงานให้ทำ
2.การกำหนดชิ้นงาน
การทดสอบ
เป็นวิธีการวัดผลโดยให้ผู้เรียนเขียนตอบลงในกระดาษคำตอบเป็นหลักลักษณะของคำถามที่ใช้ถามอาจเป็นทั้งแบบอัตนัยหรือปรนัยก็ได้ ซึ่งชุดของคำถามต่างๆเหล่านี้เราเรียกว่า “แบบทดสอบ”
การบันทึกพฤติกรรม
เป็นวิธีการในการวัดผลที่มุ่งตรวจสอบพฤติกรรมด้านจิตพิสัยของผู้เรียน ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนการสอน การบันทึกพฤติกรรมอาจจัดทำในลักษณะที่ให้ผู้เรียนจดบันทึกรายงานความสามารถของตน
แฟ้มสะสมงาน
หมายถึง การสะสมงานอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงถึง ผลงาน ความก้าวหน้า และสัมฤทธิผลของผู้เรียนในส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของการเรียนรู้ในวิชา หนึ่งๆ การรวบรวมจะต้องครอบคลุมถึงการที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเลือกเนื้อหา เกณฑ์การคัดเลือก และเกณฑ์การตัดสินใจให้ระดับคะแนน รวมทั้งเป็นหลักฐานที่สะท้อนการประเมินตนเองของผู้เรียนด้วย
ลักษณะสำคัญของการประเมินภาคปฏิบัติ