Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 บริบททางวัฒนธรรม, 60203102 ปัทมา วงค์ไชย - Coggle Diagram
บทที่ 2 บริบททางวัฒนธรรม
ลักษณะของวัฒนธรรมที่เหมือนกัน
เป็นมรดกทางสังคม
มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอตามกาลเวลา
เกิดการเรียนรู้ ไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องอำนวยประโยชน์ในการดำเนินการชีวิต
กระบวกการเรียนรู้วัฒธรรมแม่ มี 3รูปแบบ
Informal
technieah
formal
การสร้างความตระหนักทางวัฒนธรรมกับกระบวนการเรียนรู้ วัฒนธรรมแม่ ชาตินิยมและความลุ่มหลงชาติพันธุ์
การยึดมั่นอยู่กับวิธีการดำเนินชีวิตตลอดจน แนวคิดของตนเองหรือชนชาติของตนว่าถูกเสมอจะก่อให้เกิดอุปสรรคในการสื่อสาร
นิยามและองค์ประกอบของวัฒนธรรม ความหมายของภาษา
คำนิยามที่ใช้เฉพาะกลุ่มเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์บางประการ แต่อาจไม่ครอบคลุมบางแง่มุมของความหมาย
วัฒนธรรม คือภาษาที่คนในชาติใช้ร่วมกัน
วัฒธรรรมเป็นสิ่งที่พึงรักษาไว้ ให้คนรุ่งต่อไป
วัฒนธรรม หมายถึง ชุดประจำชาติและประเพณี
วัฒนธรรมบอกถึงความเป็นของกลุ่มชนชั้น
บริบททางวัฒนธรรมและคำนิยมที่มีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายและแผนการศึกษา
ระเบียบประเพณีและพฤติกรรม
สถาบันทางสังคม
ชาติพันธุ์ ภาษา ศาสนา
การปรับตัวของชุมชน
ค่านิยมร่วมสังคม
ศิลปะ
ศาสนา
บริบททางวัฒนธรรม
กระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมใหม่
oepression
Gaining Ground
Excitement
Abjustment
นิยามคำว่า วัฒนธรรมภาษา บุคลิกลักษณะ
ภาษา
ภาษามีความหมายตามบริบททางวัฒนธรรมของตน คำในภาษาใดๆ ยอมมีความหมายตามวัฒนธรรมในสังคมนั้นๆ
บุคลิกลักษณะ
เป็นผลผลิตจากการเลี้ยงดูของครอบครัวผนวกกับกรอบการปฎิสัมพันของวัฒนธรรม
ประเภทของวัฒนธรรม
ที่เป็นวัตถุ
ที่ไม่ใช้วัตถุ
60203102 ปัทมา วงค์ไชย