Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้คำปรึกษาทางสุขภาพ - Coggle Diagram
การให้คำปรึกษาทางสุขภาพ
ความหมาย/แนวคิด/ทฤษฎี
การสร้างสัมพันธภาาพ
บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปทาความรู้จักกัน
มีปฏิสัมพันธ์กัน มีจุดมุ่งหมายยอมรับซึ่งกันและกัน
จะเกิดขึ้นเมื่อ
ต้องการความชวยเหลือ
ต้องการกระตุ้น
ลดความวิตกกังวล/กลัว
ต้องการความรู้เพิ่มเติม
แบ่ง 3 ระดับ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัวความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน และบุคคลอื่นในสังคม
บุคคลในองค์การและความสัมพันธ์กับบุคคลนอกองค์การ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
วัตถุประสงค์ในการสร้างสัมพันธภาพในการให้คำปรึกษา
ให้เกิดความไว้วางใจ
เปิดเผยปัญหา
ทฤษฎี
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
(Interpersonal relationship)
แฮรี่ สแตก ซัลลิแวน (Harry Stack Sullivan)
เป็นความสัมพันธ์เชิงสังคม
พฤติกรรมของมนุษย์มีรากฐาน
จากความปรารถนาพื้นฐาน 2 ประการ
ความพึงพอใจ
ความมั่นคงทางใจ
ระบบความเป็นตนเอง
ตามความคิด
ฉันดี (good-me) : รู้สึกดีกับตนเอง. :check:
ฉันไม่ดี (bad-me)) : รู้สึกไม่ดีกับตนเอง :green_cross:
ไม่ใช่ฉัน (not-me) : ปฏิเสธตนเอง :no_entry:
การประยุกต์ใช้
การแก้ไขปรสบการณ์ที่บุคคลมี ในด้านมนุษย์สัมพันธ์
หลักการรู้จัก และเข้าใจตนเอง (Jo - hari)
หลักการสื่อสารระหว่างบุคคล
(Transactional Analysis)
หลักการสร้างสัมพันธภาพ
รู้จักตนเอง+ผู้อื่น
มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
มองโลกในแงที่เป็นจริง
ยอมรับเมื่อรู้ว่าตนเองผิด
แนวทางการสร้างสัมพันธภาพทีดี
เปิดเผยตนเองตามความเหมาะสม
สร้างความไว้วางใจ+น่าไว้วางใจ
ใส่ใจ + สนใจให้ความสำคัญ
การทำให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
เข้าไปเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์
สร้างความคุ้นเคย
ให้รางวัลพฤติกรรม
รู้สึกชอบ/พอใจกัน
องค์ประกอบการสร้างสัมพันธภาพ
สิ่งแวดล้อม
ห้องมิดชิด
บรรยากาศดี ไม่มีเสียงรบกวน
โต๊ะ(ไม่เกะกะ) + เก้าอี้
การใช้คำพูด
Greeting. การทักทาย
Small talk พูดเรื่องธรรรมดาทั่วไป
Openning พูดเปิดประเด็นปัญหา
ภาษาท่าทาง
S=squarely นั่งมุมฉาก
O=open ท่าทางเปิดเผย
L=lean โน้มตัวเข้าหาผู้บริการ
E=eye contact. สบตา
R=relax ท่านั่งผ่อนคลาย
การสร้างความพึงพอใจต่อกัน
บุคลิกภาพดี
คสม.ทำสิ่งต่างๆดี
รสนิยมคล้ายคลึงกัน
คุ้นเคย
รู้จักให้+รับ
รู้จักควร+ไม่ควร
ประเภท
สัมพันธภาพทางสังคม
ไม่มีจุดมุ่งหมายในการช่วยเหลือ
ความพอใจทั้ง 2 ฝ่าย
ไม่ต้องมีการวางแผนดำเนินงาน
สิ้นสุดตามความพอใจ
สัมพันธภภาพเชิงวิชาชีพเพื่อการบำบัด
จุดมุ่งหมายเพื่อการช่วยเหลือ
มีเหตุผลเป็นพื้นฐาน
มีกระบวนการเป็นขั้นตอน + วางแผน
ใช้ Skill
การสิ้นสุดเป็นไปตามแผน
ลักษณะเฉพาะ
ปฏิสัมพันธใกล้ชิด
ยอมรับซึ่งกันและกัน
แลกเปลี่ยนความเห็น
เปิดเผยค.คิด + ครส.
รู้สึกปลอดภัย
พึ่งพาอาศัยกันตามควร
ปัจจัยที่มีผลต่อกรสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ปัจจัยภายใน
การยอมรับคุณค่า ให้เกียรติ์ กันและกัน
เข้าใจความรู้สึกของกันและกัน
ทัศนคติที่ดี จริงใจ ไม่เสแสร้ง
ปัจจัยภายนอก
ด้านร่างกาย
ด้านสังคม
ด้านวัฒนธรรม
แนวทางการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
ข้อปฏิบัติ
สดชื่นแจ่งใส
ใส่ใจพองาม
ตั้งใจรับฟัง
เกรงใจตามสมควร
คุมอารมณ์ได้ดี
ปฏิเสธที่เหมาะสม
จดจำข้อมูลให้มาก
การปรับบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพภายนอก
ด้านร่างกาย
แข็งแรง สมบูรณ์
ท่าทางยิ้มแย้ม
รับฟัง ให้เกียรติ ยอมรับ
ทิ้งระยะห่าง สบตา วางท่า
ด้านการพูด
จริงใจ ท่าทีเปิดเผย
เสียงนุ่มนวล เป็นมิตร เข้าใจง่าย
บอกเป้าหมาย และความรู้สึก
พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ยกย่อง
ปฏิเสธ
เรียกร้อง
ด้านการฟัง
รับฟัง
เปิดประเด็นให้พูดถึงปัญหา
ด้านการแต่งกาย
เหมาะสม + สะอาด
บุคลิกภาพภายใน
พอใจในตนเอง
ควบคุมตนเอง
สงบ เบิกบาน
กำหนดเป้าหมายในชีวิต
เป็นผู้ให้
ตื่นตัว คล่องแคล่ว
มารยาททางสังคมดี
รับผิดชอบ
เอาใจใส่
สานต่อความสัมพันธ์
เข้าใจ
รับผิดชอบ
เคารพนับถือ
ต้องมีความสอดคล้องและเข้าใจขององค์ประกอบ
S:Sours แหล่งข่าวสาร
M:message ข่าวสาร
C:Channel ช่องทางการสื่อสาร
R:receiver ผู้รับข่าวสาร
เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
ครอบครัวและสังคม
เอาใจใส่ ดูแล เอื้อาทรต่อกัน
รู้จักคนที่เรารัก
เคารพกันและกัน
รับผิดชอบ
วางใจกันและกัน
ให้กำลังใจกัน
ให้อภัยกัน
สื่อสารกันในครอบครัว
ใช้เวลาอย่างมีความสุข
ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลง
สัมผัสใกล้ชิด
เพื่อน
หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง ยุติความขัดแย้งด้วยสันติ
รู้สึกดีต่อตัวเองและผู้อื่น
ยอมรับความต่าง
รับฟังความเห็น
เป็นตัวของตัวเอง
เชิงวิชาชีพเพื่อการบำบัด
จุดมุ่งหมาย
การยอมรับตนเอง
มองเห็นปัญหาตนเอง
สร้างสัมพันธ์ภาพระหว่างบุคคล
เกิดการเรียนรู้ + พฤติกรรมใหม่
หลักการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
(Interpersonal relationship)
หลักการรู้จัก และเข้าใจตนเอง (Jo - hari)
"วิเคราะห์ตนเองได้"
หน้าต่างโจฮารี (บุคคลมี 4 ส่วน)
เปิดเผย Public area
เรารู้ ทุกคนรู้
จุดบอด Blind area
คนอื่นรู้ เราไม่รู้
ความลับ Private area
เรารู้ คนอื่นไม่รู้
อวิชชา Unknow area
เราไม่รู้ คนอื่นก็ไม่รู้
หลักการสื่อสารระหว่างบุคคล
(Transactional Analysis)
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษา
ความรัก ห่วงใย เอาใจใส่
เข้าใจความรู้สึกผู็ป่วย Emphathy
ความเห็นใจ Sympathy
ความเข้าใจ Understanding
การยอมรับ Acceptance
ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ขั้นเตรียมการปฏิสัมพันธ์ (Pre-interaction)
ดูข้อมูลผู้ป่วยเพื่อเตรียมพร้อม
กำหนดเป้าหมายทั่วไป + วางแผนการเริ่มต้น
ขั้นตอนการสร้างความสัมพันธ์ (Introduction/Orientation)
กำหนดข้อตกลง
สร้าง ครส.ไว้วางใจ
ยอมรับนับถือ
ประเมินความคิด ค.รู้สึก การกระทำผู้ป่วย
แยกแยะปัญหา + ทำความเข้าใจเป้าหมาย และการพยาบาล
ขั้นดำเนินการแก้ไขปัญหา (Working)
หาสาเหตุปัญหา/สิ่งกระทบชีวิต
พัฒนาความเข้าใจตัวเอง
หาทางออกปัญหา
ขั้นตอนสิ้นสุดสัมพันธภาพ (Termination)
สร้าง ครส.ยอมรับความจริง
ประเมินผลความก้าวหน้า/ค.สำเร็จ
.ประเมิน ค.รู้สึก
ประเมินพฤติกรรมที่เป็นปัญหา