Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบที่สำคัญ ของพืชสมุนไพร…
บทที่3
ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบที่สำคัญ
ของพืชสมุนไพร แบ่งตามหมวดอาการของโรค
สมุนไพรเพื่อความงาม
ความหมาย
เวชสำอาง
คือ
มาจากคำว่า“Cosmeceutical products” เป็นคำที่ไม่มีนิยามตามกฎหมายแม้ว่าจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) แต่มีความหมายเดียวกับผลิตภัณฑ์ที่จัดอยู่ในกลุ่ม “quasidrug” ขอญี่ปุ่น
เครื่องสำอาง
คือ
สิ่งปรุง รวมทั้งเครื่องหอม และสารหอมต่าง ๆ ที่ใช้บนผิวหนัง หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายมนุษย์ ที่มุ่งหมายสำหรับทำความสะอาด ป้องกัน แต่งเสริม เพื่อความงาม โดยไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของร่างกาย
ประเภท
Anti-acne
รักษาสิว
ไพล
สารสกัดเปลือกมังคุด
น้ำมันหอมระเหย
กะเพรา
โหระพา
ใบมะกรูด
ว่านหางจระเข้
ชาเขียว
Anti-aging
มะขามป้อม
สร้างCollagen
ว่านหางจระเข้
ลดรอยย่น จุดด่างดำ
ยับยั้งเอมไซม์tyrosinase
กระตุ้นการสร้างhyaluronic acid
บัวบก
ลดริ้วรอย ผิวยืดหยุ่น
ครีมขมิ้น
ลดรอยย่นบริเวณหางตา
รำข้าว
เพิ่มความชุ่มชื้น
แตงกวา
ลดหน้าแห้ง หน้านิ่ม
Anti-pollution
ป้องกันการเสื่อมจากมลภาวะ
เช่น
หม่อน
มะขามป้อม
ข้าว
มังคุด
มะขาม
ขมิ้นชัน
มะกรูด
งา
Whitening
เช่น
โกฐน้ำเต้า
ใบหม่อน
ชะเอมเทศ
มะหาด
Hair cosmetic
สมุนไพรกับเส้นผม
อัญชัน
ว่านมหาเมฆ
ใบบัวบก
เป็นรังแค
ทองพันชั่ง
มะกรูด
Nutraceuticals
อาหารกับผิวสวย
ถั่วเหลือง
สร้างคอลลาเจน
ผักผลไม้แดง
ป้องกันรังสีUV
ผักใบเขียว
ลดรอยเหี่ยวย่น
ถั่วเมล็ด
สร้างCollagen
อัตรกิริยา
คือ
ปฏิกิริยาทางเภสัชวิทยาระหว่างกันของสารทั้งสองชนิดทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงระดับของยาในร่างกายการต้านฤทธิ์ การเสริมฤทธิ์ การเพิ่มหรือลดผลข้างเคียงของยา การเกิดพิษ
แบ่งได้ 2 ประเภท
อันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร
ไม่มีผลต่อความเข้มข้นของยา
แบ่งเป็น
การออกฤทธิ์เสริมกัน (Synergistic)
การออกฤทธิ์ต้านกัน (Antagonist)
อันตรกิริยาทางด้านเภสัชจลศาสตร
ปฏิกิริยาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับยาในร่างกายไปจากปกติ ทั้งในเลือด เนื้อเยื่อ หรือตำแหน่งที่ยาออกฤทธิ์
การดูดซึมยา
เกิดสารประกอบที่ซับซ้อน (complex)
เพิ่มการเคลื่อนที่ผ่านทางเดินอาหาร
ลดการดูดซึม
เปลี่ยนแปลงระดับ pH
เพิ่มการดูดซึม
การกระจายยา (Distribution)
การจับตัวของยา
การกระจายตัวยาจากเลือดผ่านเนื้อเยื่อ
การเปลี่ยนแปลงยา (Metabolism)
อาศัยเอนไซม์ในการเปลี่ยนแปลงยา เกิดขึ้นที่ตับ
ได้แก่
Enzymatic induction
Enzymatic inhibition
Cytochrome P450 (CYP450)
การขับยาออกจากร่างกาย (Excretion)
กระบวนการกำจัดยาออกจากร่างกายผ่านช่องทางต่าง ๆ ซึ่งยาส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางไตในรูปของสารที่สามารถละลายน้ำได้
สมุนไพรไอ ขับเสมหะ
ขิง
เหง้าแก่ฝนกับน้ำมะนาวเหง้าสดตำผสมน้ำสุกเล็กน้อย
ดีปลี
ผลแก่แห้งฝนกับน้ำมะนาว (ห้ามใช้กับคนท้อง)
เพกา
เมล็ดใส่น้ำต้มไฟอ่อนๆ
มะขามป้อม
เนื้อแก่โขลกพอแหลกแแทรกเกลือใช้อมหรือเคี้ยว
มะขาม
เนื้อแก่จิ้มเกลือกินหรือคั้นน้ำใช้จิบบ่อยๆ
มะนาว
ฝานสดคั้นใส่เกลือจิบบ่อยๆ
มะแว้งเครือ
ผลแก่โขลกพอแหลก คั้นใส่เกลือกลืนน้ำและเนื้อ
มะแว้งต้น
ผลแก่โขลกคั้นเอาแต่น้ำใส่เกลือเล็กน้อย
สมุนไพรกระดูก กล้ามเนื้อ
ลูกประคบ
ส่วนประกอบ
มะกรูด
ขิง
ตะไคร้
ขมิ้น,ไพล
วิธีทำ
หั่น สับ
ตากแห้ง
บดหยาบ
ห่อผ้าขาว มัดให้แน่น
เถาวัลย์เปรียง
สหัสธารา
ไพล
เจลพริก
สมุนไพรผิวหนัง
สมุนไพรทีใช้กําจัดเหา
น้อยหน่า
ใบ
ใช้ใบน้อยหน่าสดประมาณ 4 ใบ นํามาตําผสมกับเหล้าขาว แล้วเอานํ้าที่ได้มาชโลมให้ทั่วศีรษะ
ครีมเมล็ดน้อยหน่า
อย่าใช้บริเวณที่มีแผล ควรใส่ยาซํ้าภายในวันที่ 7 - 10 หลังการใส่ครั้งแรก
แผลสด
มะขาม
ใช้เปลือกเมล็ด นําไปต้ม ล้างแผล ช่วยสมานแผลได้
ขมิ้นชัน
าล้างให้สะอาด แล้วตําจนละเอียด คั้นเอานํ้าใส่แผล
ผงขมิ้นผสมน้ำมันมะพร้าว
ครีมบัวบก
ช่วยสมานแผล
*ห้ามใช้กับผู้ป่วยโรคมะเร็วผิวหนัง
ยาน้ำเปลือกมังคุด
ทาแผลสดและแผลเรื้อรัง
แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
บัวบก
บัวบกสดตำละเอียด คั้นน้ำชโลมแผล ใช้กากร่วมด้วย
ชาจีน
นํากากใบชาพอกแผล
น้ำมันมะพร้าว
สําลีชุบนํ้ามันมะพร้าวทาแผลบางๆ
ว่านหางจระเข้
ใช้วุ้นที่อยู่ภายใน ทาหรือพอกบริเวณที่เป็น
แผลเรือรังจากการฉายรังสี
ว่านหางจระเข้
ใช้วุ้นที่อยู่ภายใน ทาหรือพอกบริเวณที่เป็น
ยาสารละลายพญายอ
สําหรับป้ายปาก
อาการผื่นคัน ลมพิษ
หญ้าคา
ใช้ใบต้มหรือแช่นํ้าอาบ
พลู
ใบสดโขลกผสมเหล้าโรง ทาบริเวณที่เป็น
ยาคาลาไมน์พญายอ
ยาเจลพลู
ผิวหนังพุพอง นํ้าเหลืองเสีย
เหงือกปลาหมอ
ใช้ทั้งต้นและใบสดหรือแห้งมือ นํามาสับหรือหั่นเป็นชิ้น ต้มนํ้าอาบหรือชะล้างแผล
ขมินชัน
ใช้เหง้าสดหั่นเป็นแว่น บดให้ละเอียด ใช้น้ำ
แก้พิษแมลง สัตว์ กัดต่อย
ตำลึง
ผักบุ้งทะเล
ขมิ้นชัน
พญายอ
ทิงเจอร์พลู
รักษากลากกลื้อน
ข่า
กระเทียม
ขมิ้นชัน
ชุมเห็ดเทศ
ทิงเจอร์ทองพันชั่ง
รักษาเริม งูสวัด
ตำลึง
พญายอ
สมุนไพรขับลม
โรคกระเพาะอาหาร
ขมิ้นชัน
เหง้าแก่สด ตากแดดบดละเอียดใส่แคปซูล หรือทำยาลุกกลอน
กล้วยน้ำว้า
ผลดิบฝานตากแดดหรืออบบดเป็นผง ชงน้ำดื่ม
ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด
กานพลู
ดอกตูมแห้ง ต้มน้ำดื่ม
กระเทียม
ทานหัวสด
ขิง
เหง้าสด ทุบให้แตกต้มน้ำ
กะเพรา
ใบและยอด ต้มน้ำดื่ม
ตะไคร้
ลำต้นทุบพอแตก ต้มน้ำดื่ม
พริกไทย
ผล ลดแล้วปั้นเป็นลูกกลอน
ดีปลี
เถาต้มน้ำดื่ม
ข่า
เหง้าแก่ ทุขให้แตก ต้มน้ำดื่่ม
กระชาย
เหง้าราก ต้มน้ำดื่ม
แห้วหมู
ใช้หัวต้มน้ำดื่ม
กระวาน
เมล็ด บดเป็นผงชงน้ำดื่ม
เร่ว
เมล็ด บดเป็นผล
มะนาว
เปลือกคั้นน้ำมันออก ชงน้ำร้อน
กระทือ
เหง้าสด ผสมปูนใส คั้นน้พอ่ท
ขมิ้นชัน
เหง้าแก่สด ตากแดดบดละเอียดใส่แคปซูล หรือทำยาลุกกลอน
สมุนพรแก้ไข้
บอระเพ็ด
ยาจันท์ลีลา
รากปลาไหลเผือก
ลูกกระดอม
แก่นจันทร์แดง
พิมเสน
แก่นจันทร์ขาว
เถาบอระเพ็ด
โกฐสอ
โกฐจุฬาลัมพา
โกฐเขมา
ฟ้าทะลายโจร
สมุนไพรขับปัสสาวะ
ตะไคร้
หั่นเป็นแว่นต้มน้ำดื่ม
สับปะรด
เหง้า ต้มน้ำดิ่ม
ขลู่
หั่นเป็นชิ้นต้มกับน้ำ
หญ้าคา
รากสดต้มน้ำ ดื่ม
กระเจี๊ยบแดง
ใช้กลีบเลี้ยงตาก บดแห้ง ชงกับน้ำดื่ม
หญ้าหนวดแมว
ใบแห้ง ต้มน้ำดื่ม
อ้อยแดง
ลำต้น ต้มน้ำดื่ม
สมุนไพรท้องเสีย
ท้องเสีย
ฟ้าทะลายโจร
ใบสดต้มน้ำดื่ม
ทับทิม
เปลือกแห้งฝนหรือต้มกิน
กล้วยน้ำว้า
ผลดิบตากแห้ง บดเป็นผง
มังคุด
เปลือกแห้งย่างไฟ บดเป็นผง
ฝรั่ง
ใบแก่ปิ้งไฟ ต้มน้ำดื่ม
สีเสียดเหนือ
บดเป็นผง ต้มกิน
ยาธาตุบรรจบ
ยาผงกล้วย
ยาเหลืองขัดสมุทร
ยาระบาย
ท้องผูก
มะขามเเขก
ใบแห้งต้มน้ำดื่ม
แมงลัก
เมล็ดแช่น้ำอุ่นจนพอง
มะขาม
คั้นน้ำ ใส่เกลือเล้กน้อย
ขี้เหล็ก
ใบต้มน้ำดื่ม
ชุมเห็ดเทศ
ใบสดตากแห้ง ต้มกิน
คูณ
เนื้อในฝัก ต้มน้ำดื่ม
คลื่นไส้อาเจียน
กะเพรา
ใบและยอดต้มน้ำดื่ม
ยอ
ผลดิบฝาน ย่างไฟอ่อน ต้มดื่ม
ขิง
เหง้าสดทุบ ต้มน้ำดื่ม
ยาถ่ายดีเกลือฝรั่งMgSo4
ยาระบายธรณีสันฑะฆาต
ยาขับพยาธิ
พยาธิลำไส้
มะหาด
บดละเอียด ผสมน้ำสุกเย็น
มะขาม
เมล็ดแก่คั่ว กะเทาะเปลือก เอาเนื้อด้าในแช่จนนุ่ม
มะเกลือ
ผลสดโขลกพอแหลก ผสมกะทิ คั้นพอดื่ม
เล็บมือนาง
เมล้ดทุบพอแตก ต้มน้ำดื่ม
ฟักทอง
เมล้ดทุบให้แตกผสมน้ำตาล ทายน้ำมันละหุ่งระบายตาม
สะแก
เมล็ดแก่ตำละเอียดทอดกับไข่กิน
กัญชา
คือ
กัญชา คือ พืชออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทชนิดหนึ่ง
ตำรับยาแผนไทยที่มีกัญชาเป็นส่วนผสม
16 ตำหรับ
ยาแก้นอนไม่หลับ / ยาแก้ไขผอมเหลือง
นอนไม่หลับ
ยาแก้โรคจิต
ลดความวิตกกังวล
ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง
บรรเทาอาการท้องผูก
ยาอัมฤตโอสถ
ลดตึงกล้ามเนื้อ
ยาไพสาลี
บรรเทาอาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ ขับลม
ยาอไภยสาลี
ขับลม บรรเทาอาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ
ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย
แก้ปวดตึง
ยาไฟอาวุธ
แก้ลมจุกเสียด
ยาศุขไสยาศน์
ช่วยให้นอนหลับ
ยาทำลายพระสุเมรุ
บรรเทาอาการแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อ แขนขาอ่อนแรง
ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง
บรรเทาอาการปวดศีรษะ
ยาอัคคินีวคณะ
บำรุงกำลัง
ยาแก้ลมแก้เส้น
บรรเทาอาการปวดตึงกล้ามเนื้อ ลดอาการมือเท้าชา
ยาทัพยาธิคุณ
แก้จุกเสียดท้องแข็งเป็นเถาดาน อาการอัมพฤกษ
ยาน้ำมันสนั่นไตรภพ
บรรเทาอาการปวดท้องแข็ง
ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนัง
ทารักษาริดสีดวงทวารหนัก
สมุนไพรใช้แต่งสี
สีเหลือง
กรรณิกา,ขมิ้น,ดอกคำฝอย
สีส้ม
ส้มเขียวหวาน
สีน้ำตาล
โกโก้
สีม่วง
อัญชัน,ผักปลัง
สีแดง
กระเจี๊ยบแดง,ฝาง,ข้าวทอง,ถั่วแดง,หัวบีทรูท,ครั่ง
สีดำ
กาบมะพร้าว,ถั่วดำ
สีเขียว
ใบเตยหอม
สมุนไพรไล่แมลง
ไล่แมลงสาบ
ใบกระาน กานพลู พริกไทย
ไล่แมลงวัน
เปลือกส้ม น้ำส้มสายชู ผักกลิ่นฉุน
ไล่แมงมุม
ส้ม เปปเปอร์มินท์ เกลือ เกาลัด
ไล่แมลงหวี่
กาบมะพร้าว ดอกดาวเรือง ตะไคร้
ไล่ปลวก
ข่า ตะไคร้ กระเทียม ขี้เหล้ก เกลือ
ไล่เพลี้ย
พริกสด หางไหลแดง สะเดา สาบเสือ
ไล่มด
หน่อไม้ดอง พริกป่น ขมิ้น พริกสด
ฆ่าเหา
ยูคาลิปตัส ผัดเสี้ยน หนอนตายอยาก น้อยหน่า
ไล่มอด
กะเพรา กระวาน กานพลู พริกไทยดำ
ไล่หนู
ใบพลู น้ำมันสาระแหน่ มะกรูด ยี่โถ
ไล่ยุง
กะเพรา ขมิ้น ตะไคร้หอม มะกรูด
ไล่จิ้งจก
ใบสาบเสือ ใบน้อยหน่า
พืชมีพิษ
พืชมีฤิทธ์ต่อระบบส่วนกลาง
หัวกลอย จันทร์เทศ
พิชระคายเคืองต่อผิวหนัง
ตำแย พญาไร้ใบ กระดาน บอน เผือก
พืชมีพิษต่อหลอดเลือด
ยี่โถ มันสำปะหลัง
พืชมีผลต่อระบบปัสสาวะ
ลูกเพียง
พืชมีพิษต่อทางเดินอาหาร
บอน เผือก บุก พืชสกุลพลับพลึง มันแกว มะคำดีควาย ละหุ่ง สบู่ดำ มะแว้งนก ดองดึงหัวขวาน