Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dengue Hemorrhagic Fever - Coggle Diagram
Dengue Hemorrhagic Fever
ไวรัสแดงก็แพร่กระจายจากคนไปสู่คนโดยยุงลายเป็นตัวพาหะนำโรคโดยยุงลายตัวเมียจะดูดเลือดคนที่มีเชื้อไวรัสเดงกีในกระแสเลือดระยะ 2 วันก่อนมีไข้ถึง 4-5 วันหลังมีไข้ไวรัสจะเพิ่มจำนวนเซลล์เยื่อบุของ Midgut เข้าสู่ Haemocele เข้าสู่ต่อมน้ำลายแพร่ไวรัสให้คนที่ถูกกัดมีการรั่วซึมของสารน้ำออกจากหลอดเลือดทำให้ปริมาณน้ำในหลอดเลือดลดลงและเกิดภาวะช็อกที่รุนแรงได้โดยการรั่วซึมของสารน้ำจะพบบริเวณเฉพาะเยื่อหุ้มปอดและเยื่อบุช่องท้อง
-
อาการตามการดำเนินโรค
ระยะช็อก
ในรายที่มีอาการไม่รุนแรง อาจมีอาการเหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจรเร็ว ความดันโหลิตเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเป็นช่วงสั้น ๆ แล้วดีขึ้น
ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการกระสับกระส่าย ซึมลง มีอาการช็อก คือมือเท้าเย็น เหงื่อออกมาก ชีพจรเบาเร็ว จนในที่สุดคลำชีพจรไม่ได้ ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลง pulse pressure แคบหรือน้อยกว่า 20 มิลลิเมตรปรอท ถ่ายปัสสาวะน้อย อาจมีเลือดออกมากร่วมด้วย
-
ผู้ป่วยมารพ. วันที่ 4/10/63 โดยพยาธิสภาพอยู่ในระยะช็อก คือ เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสม่า ระดับโปรตีนและระดับอัลบูมินในเลือดมีแนวโน้มต่ำลงในช่วงที่มีการรั่วของพลาสมา Hb Platelet count มีแนวโน้มต่ำลงอย่างต่อเนื่อง จับชีพจรหรือวัดความดันโลหิตได้เบาและไม่สม่ำเสมอ รับประทานอาหารได้น้อย มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้แต่ไม่อาเจียน แต่พบระดับ Hct ไม่ค่อยสัมพันธ์กับพยาธิสภาพของโรคที่จะต้องเพิ่มขึ้นทันทีก่อนเกิดภาวะช็อก
ระยะฟื้นตัว
อาจตรวจพบชีพจรช้า อาจมีอาการคันตามร่างกาย อาจมีจุดเลือดออกที่มีลักษณะเฉพาะคือมีวงกลมเล็ก ๆ สีขาวของผิวหนังปกติท่ามกลางผืนสีแดง
การรั่วของพลาสมาหยุด ฮีมาโตคริทคงที่ ชีพจรจะช้าลงและแรงขึ้น ความดันโลหิตปกติมี pulse pressure กว้าง ตับที่โตจะเล็กลงจนปกติ
เข้าสู่ระยะฟื้นตัวในวันที่ 6/10/63 ซึ่งผู้ป่วยมีอาการไข้เริ่มลดลง ผู้ป่วยเริ่มรับประทานอาหารและน้ำได้มากขึ้นกว่าเดิม ยังมีอาการเบื่ออาหารเล็กน้อย ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน และแพทย์อนุญาตให้ off สารน้ำทางหลอดเลือดดำได้ หากผู้ป่วยรับประทานได้ดี
ระยะไข้
อาจมีเลือดออกตามผิวหนัง มีเลือดกำเดาไหล หรือเลือดออกตามไรฟัน ถ้าทำ tourniquet test จะให้ผลบวก อาการไข้จะคงอยู่ประมาณ 4 – 7 วันแล้วไข้จะลดลงทันที่เข้าสู่ระยะที่ 2
-
-
การวินิจฉัยโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
-
-
-
การตรวจ Dengue NS1AG, IgG, lgM
-
อาการ
ไข้สูงทันทีสูงลอย 2-7 วันร่วมกับมีอาการหน้าแดงเบื่ออาหารปวดท้องตับโตกดเจ็บมีจุดเลือดออกตามตัวปวดเมื่อยแขนขาปวดศรีษะ
แพทย์วินิจฉัย Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) ด้วยดูจากมีไข้สูงลอยมา 5 วัน ผลการตรวจทางห้องปฏิยัติการ CBC พบ Hb 12.1 g/dl Hct 35.2 % Platelet count 73,000 cell/cu.mm WBC 2,820 cell/uL Neutrophils 61% Lymphocyte 30 % Monocyte 9 % ผล Albumin 4.7 SGOT 157 U/L SGPT 40 U/L และทำ Touniquet test ผล positive
การรักษา
ระยะช็อก
ข้อบ่งชี้ในการให้สารน้ำ
• Colloidal solution now plasma expander Lju dextram 40 หรือกลุ่ม plasma substitube เช่น haspander, plasma ให้ในรายที่มีการรั่วของพลาสมามาก
Crytalloid solution 19% 5% DNSS, 5% DLR, 5% DAR
-
แก้อาการช็อกและอาการเลือดออกการให้สารน้ำในระยะนี้มีความจำเป็นสามารถป้องกันและแก้ไขอาการซ็อกได้ แต่ไม่ควรให้นานเกิน 24-48 ซม.
เป็นช่วงที่สารน้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือดจำเป็นต้องลดหรือหยุดการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและหลีกเลี่ยงการทำหัตการที่รุนแรง
ระยะฟื้นตัว
เป็นช่วงที่สารน้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือดจำเป็นต้องลดหรือหยุดการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและหลีกเลี่ยงการทำหัตการที่รุนแรง
ระยะไข้
ให้น้ำให้เพียงพอควรให้ผู้ป่วยดื่มน้ำผลไม้หรือ ORS ในรายที่อาเจียนมากรับประทานอาหารไม่ได้และมีภาวะขาดน้ำอาจให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในกลุ่ม Crystaloid เช่น 5% D / N / 2 หรือ 5% D / N / 3
ให้ยากลุ่ม acetaminophen เฉพาะเมื่อเวลามีไข้สูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียสเว้นระยะห่าง 4-6 ซม. ร่วมกับการเช็ดตัวลดไข้ไม่ควรให้ยาจำพวก aspirin
- เริ่มแรก 5%DN/2 1000 ml vein rate 60 ml/hr. 2 ชั่วโมงต่อมาเมื่อผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการออกเปลี่ยนเป็น 5% DAR 1,000 ml v 60 ml/hr วันที่ 5/10/63 ลด 5% DAR 1000 ml vein drip rate 30 ml/hr.
- Hct q 6 hr. Keep <32%,>39%
- Record V/S q 4 hr. BP < 90/60, PP<20
-
-
-
-
- Paracetamol syr. (250/5ml) oral prn for fever q 6 hr.
- ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการทุกวัน
5 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ ซื้อยารับประทานเอง ไข้ไม่ลง
4 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ คลื่นไส้ รับประทานอาหารได้น้อย ไปหาหมอที่คลินิกได้รับยามาทาน ไข้ลดลง
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ไข้ คลื่นไส้อาเจียน รับประทานอาหารได้น้อย ไม่มีแรง ญาติจึงนำตัวส่งโรงพยาบาล แรกรับที่ OPD มาด้วยอาการมีไข้ ผิวกายร้อน อาเจียน อ่อนเพลีย ปากแห้ง ไม่ปวดท้อง อุณหภูมิร่างกาย 38.7 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของหัวใจ 108 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 28 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 100/60 มิลลิเมตรปรอท น้ำหนัก 20.5 กิโลกรัม ส่วนสูง 126 เซนติเมตร แพทย์ให้ Admit ที่หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 4