Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความรุนแรง - Coggle Diagram
บทที่ 8
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความรุนแรง
วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพและความรุนแรง
วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ
ออกกำลังกาย
อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน
วันละอย่างน้อย 30 นาที
อย่างสม่ำเสมอ
เช่น
วิ่ง
ปั่นจักรยาน
รำมวยจีน
เดินเร็ว
รำไท้เก๊ก
อนามัยสิ่งแวดล้อม
บ้านเอื้อต่อสุขภาพ
สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน
อบายมุข
งดเว้น
สารเสพติด
สุรา
การพนัน
สำส่อนทางเพศ
อโรคยา
โรคที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคนไทย
โรคความดันเลือดสูง
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคมะเร็ง
โรคเบาหวาน
โรคเอดส์
อุบัติเหตุ
อาหาร
ควรรับประทานอาหาร
ถูกลักษณะ
สะอาด
ปลอดภัย
ครบ 5 หมู่
ควรหลีกเลี่ยง
ไขมันมากเกินไป
แป้งมากเกินไป
อารมณ์
อารมณ์มีความสัมพันธ์กับสุขภาพ
เมื่อมีความสุขจะหลั่งสารเอนโดรฟิน
การทำงานของสมองดี
กระชุ่มกระชวย
หายป่วยเร็วขึ้น
ผ่อนคลาย
อายุยืนมากขึ้น
ร่างกายตื่นตัว
วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง
ระดับครอบครัว
เคารพและเชื่อฟังผู้ใหญ่
แสดงความรักต่อกัน
ทุกคนควรมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
สร้างกฎระเบียนภายใน
ผู้ปกครองเป็นตัวอย่างที่ดี
ระดับบุคคล
ฝึกควบคุมอารมณ์ให้เป็นคนใจเย็นและมีเหตุผล
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ไม่ใช้กำลัง
ใช้เวลาว่างทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์
ไม่อยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อความรุนแรง
ระดับสังคม
สร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็กและเยาวชน
หน่วยงานที่เกีี่ยวข้องช่วยสอดส่องดูแล
สถานการณ์และแนวโน้มสุขภาพของคนไทย
รายงานแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
อายุเฉลี่ยนของคนไทยยืดยาวขึ้น
การสูญเสียปีสุขภาวะ
โรคเอดส์เป็นสาเหตุหลัก
อัตราฆ่าตัวตาย
ชาย
9.93 ต่อประชากรแสนชาย
หญฺฺิง
2.28 ต่อประชากรแสนหญิง
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS)
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
ปัจจัยภายนอก
องค์ประกอบทางสังคม
ระบบการสาธารณสุข
หลักประกันสุขภาพทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการ
ระบบเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ
อาเซียนทำให้เคลื่อนย้ายแรงงานเสรี รวมทั้งการแพทย์
ระบบการศึกษา
ให้เยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง
ระบบการเมืองและการปกครอง
รัฐให้การสนับสนุนประชาชนในด้านสุขภาพ
ระบบครอบครัวและเครือญาติ
อิทธิพลจากความเชื่อและพฤติกรรมของคนในครอบครัว
ระบบความเชื่อและสถาบันศาสนา
กิจกรรมทางศาสนาบางอย่างมีผลต่อสุขภาพ
องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อม
สภาพที่อยู่อาศัย
บ้านที่ส่งเสริมสุขภาพดี
ห่างไกลจากแหล่งอุตสาหกรรม
ระบายอากาศได้ดี
ไม่มีเสียงรบกวน
สุขาภิบาลดี
มีท่อระบายน้ำ
กำจัดขยะถูกวิธี
น้ำดื่มน้ำใช้สะอาด
ปลอดภัยจากโจรผู้ร้าย
ดูแลรักษาความสะอาด
สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม
มลพิษทางอากาศ
อากาศเป็นพิษหรือฝุ่นละออง
โรคระบบทางเดินหายใจ
มลพิษทางเสียง
เสียงดัง
ประสาทหูเสื่อม
มลพิษทางดิน
ดินมีสารพิษ
รับประทานอาหารซึ่งปลูกในดินที่มีสารพิษ
มลพิษทางน้ำ
น้ำมีเชื้อโรคปนเปื้อน
โรคระบบทางเดินอาหาร
สภาพทางภูมิศาสตร์
ฤดูกาลและอุณหภูมิของแต่ละพื้นที่แตกต่างกัน
ปัจจัยภายใน
องค์ประกอบทางกายภาพ
เชื้อชาติ
บางเชื้าติเป็นโรคบางโรคได้ง่าย
อายุและพัฒนาการ
โรคหลายโรคเป็นต่างกันตามอายุ
พันธุกรรม
การถ่ายทอดโรคทางพันธุกรรม
เพศ
ชาย
โรคริดสีดวงทวาร
ไส้เลื่อน
โรคทางเดินหายใจ
โรคกระเพาะอาหาร
หญิง
นิ่วในถุงน้ำดี
โรคกระดูกพรุน
โรคของต่อมไทรอยด์
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
องค์ประกอบทางจิต
อัตมโนทัศน์
ผลรวมของความรู้สึกนึกคิด
ความเชื่อ
การดำเนินชีวิต
ดื่มน้ำมะพร้าวขณะมีประจำเดือนทำให้เลือดหยุดไหล
รับประทานข้าวเหนียวทำให้แผลเปื่อย
รับประทานไข่ขณะเป็นแผลทำให้แผลเน่า
เจตคติ
ความรู้สึกต่อสิ่งต่างๆ
การรับรู้
การรับรู้ส่งผลต่อพฤติกรรม
ค่านิยม
ได้รับอิทธิพลจากสังคม
ความเครียด
กระทบต่อสุขภาพทั้งทางบวกและทางลบ
องค์ประกอบทางพฤติกรรม
พฤติกรรมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ
ไม่กลั้นปัสสาวะและอุจจาระเป็นเวลา
พฤติกรรมทางเพศ
ไม่สำส่อนทางเพศ
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
พฤติกรรมสุขภาพ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพร่างกายทุกปี
พฤติกรรมเกี่ยวกับอนามัยส่วนบุคคล
อาบน้ำ แปรงฟัน สระผม ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
พฤติกรรมเสี่ยง
สูบบุหรี่ ดื่มสุรา เสพสารเสพติด ขับรถโดยประมาท
ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรง
ปัจจัยด้านครอบครัว
ไม่ลงรอยกัน
มีชู้และนอกใจ
การเลี้ยงลูก
ปัจจัยด้านสังคม
ความเชื่อและค่านิยม
ความไม่เท่าเทียม
สถานภาพ
บทบาท
ปัจจัยส่วนบุคคล
จิตลักษณะ
อารมณ์รุนแรง
เครียด
ประสบการณ์
พบเห็นความรุนแรง
ลักษณะทางประชากร
เศรษฐกิจ
การศึกษา
อายุ