Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินมารดาหลังคลอดตามหลัก 13B '' เตียง6 '' - Coggle…
การประเมินมารดาหลังคลอดตามหลัก 13B
'' เตียง6 ''
2.Body condition : ภาวะทั่วไป
มารดาไม่มีภาวะซีด
สามารถช่วยเหลือตนเองได้
สีหน้าสดชื่น
1.Background
หญิงชาวลาว 38ปี
รับไว้ในรพ. 04/10/63
DX : Term preg with laber pain
G3P1A1 preg38+2week by date noTR ไม่ได้ทำหมัน
N/L 4 ต.ค. 63 เวลา 21.22น. ญ 3,070 g. Apgar 9,10,10
Present h.
G1 (2549) preg 1 เดือน spontaneous abortion, no D&C
G2 (2557) FT male N/L 2,890g. รพ.ขอนแก่น
Present ill.
3hr. PTA เจ็บครรภ์คลอดทุก5นาที มีมูกเลือด มีน้ำเดิน ลูกดิ้นดี ไม่มีปวดหัว/ตาพร่า/จุกแน่นลิ้นปี่
CC.
เจ็บครรภ์คลอด 3hr. ก่อนมารพ.
3.Body tem. & Blood pressure
24 ชม.แรก Reactionary fever, 3-4วัน Milk fever
แต่ไม่เกิน38องศา
RR 60-70 ครั้ง/นาที มากกว่า100 อาจติดเชื้อหรือตกเลือด
ค.ดันต่ำโดยไม่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนท่าอาจเกิดจากการเสียเลือด
SBP เพิ่มมากกว่า 30mmHg DBP เพิ่มมากว่า 15 +ปวดศรีษะ ตาพร่ามัว
6/10/63 10.00น. 36.8 RR 18 P 88 BP 110/70
ไม่มีปวดหัว ไม่มีตาพร่ามัว
4.Breast & lactation
การเริ่มสร้างน้ำนมเกิดขึ้นหลังคลอดรก การหลั่งน้ำนมเกิดขึ้นเมื่อลูกดูดนมหรือมีการกระตุ้นหัวนม น้ำนมจะสร้างเต็มที่ใช้เวลาประมาณ 2 – 7 วันแตกต่างกันในแต่ละคน ในการตรวจหลังคลอดควรตรวจดูว่ามารดาเริ่มมีน้ำนมมาหรือยังโดยการบีบบริเวณลานหัวนมทั้งสองข้างจะเห็นน้ำนมที่ออกมาจากหัวนม นอกจากนี้ควรสังเกตลักษณะของน้ำนมด้วยว่าเปลี่ยนแปลงจากน้ำนมเหลือง (colostrums) ไปเป็นน้ำนมจริงแล้วหรือยัง โดยทั่วไปการตรวจเต้านมและหัวนมเพื่อค้นหาภาวะผิดปกติควรทำตั้งแต่ระยะฝากครรภ์และแก้ไขให้เรียบร้อยก่อนคลอด อย่างไรก็ตามในระยะหลังคลอดทุกครั้งควรตรวจหาภาวะผิดปกติที่อาจเป็นปัญหาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ เช่น หัวนมสั้น (short nipple) หัวนมบอด (flat nipple) หัวนมบุ๋ม (inverted nipple) หรือภาวะผิดปกติที่เกิดจากการดูดนมที่ไม่ถูกวิธี เช่น หัวนมเจ็บ (sore nipple) หัวนมแตก(cracked nipple) เต้านมคัด (breast engorgement)
ท่อน้ำนมอุดตัน (blocked duct) เต้านมอักเสบ (mastitis) เต้านมเป็นฝี (breast abscess) เป็นต้น
06/10/63 day2 แม่น้ำนมไหลดี สีเหลืองทอง
หัวนมไม่บุ๋ม ไม่บอด มีหัวนมแตก
latch score 5/10
5.Belly & Fundus
มดลูกจะลดลงสู่อุ้งเชิงกรานประมาณวันละ 0.5 - 1 นิ้ว ต่อวัน
วันที่ 7 หลังคลอด ระดับมดลูกจะอยู่กึ่งกลางระหว่างหัวหน่าวกับสะดือ
วันที่ 10 หลังคลอด อยู่ที่ระดับหัวหน่าว
2w. จะคลำมดลูกทางหน้าท้องไม่ได้
6w. มดลูกเข้าอู้
แม่คลอด 04/10/63
06/10/63 Day 2 ระดับยอดมดลูด 3.5 นิ้ว
07/10/63 Day 3 ระดับยอดมดลูก 3 นิ้ว
6..Bladder
ประเมินการปสว.หลังคลอด
ปสว.ภายใน 6-8 ชม.หลังคลอด
แม่ปสว.4ชม.หลังคลอด
สีเหลืองปนเลือด ไม่มีแสบขัด
7.Bleeding & lochia
N/L [< 500cc
ถ้าน้ำคาวปลาชุ่มผ้าอนามัย 1 แผ่น( 50cc ) ภายใน45นาที ระวังตกเลือด
rubra 1-3 วันแรกหลังคลอด สีแดง
serosa 4-9 วันหลังคลอด สีชมพูจางๆ
alba วันที่ 10 หลังคลอด สีเหลืองใส
bleeding รวม 250 cc ในห้องคลอด200 รับมาที่วอร์ด~50
06/10/63 day2 น้ำคาวปลาสีแดงเข้ม คลึงมดลูก มีน้ำคาวปลาไหลออกมา
07/10/63 day3 น้ำคาวปลาสีแดง
ไม่มีกลิ่นเหม็น
8.Bottom
ประเมินฝีเย็บ ตามหลักREEDA
Redness แผลแดง
Edema บวม
Echymosis ช้ำ
Discharge
Approximation แผลแยก เย็บเสมอกัน
แผลฝีเย็บไม่แดง ไม่บวม ไม่ช้ำ
ไม่มีdischarge แผลไม่แยก เย็บเสมอกันดี
9..Bowel movement
ลำไส้เคลื่อนไหวดีขึ้นประเมินจากการขับถ่ายภายใน 24 ชม.หลังคลอด
แม่คลอดวันที่4
แม่ขับถ่ายวันที่5
ปกติ
10.Blues
สภาพจิตใจ
การปรับตัวของมารดาหลังคลอดปกติ 1-2 วันแรก จะมีพฤติกรรมพึ่งพาผู้อื่น สนใจแต่ความต้องการของตนเอง จากนั้นถึง10วันจะสนใจทารกมากขึ้น ถ้าปรับตัวไม่ได้จะมีภาวะซึมเศร้า ร้องไห้ หงุดหงิด " ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด "
มารดาปรับตัวได้ ไม่มีอารมณ์ซึมเศร้าหลังหคลอด
11.Baby
ทารก เพศหญิง หนัก3,070g
Apgar score 9,10,10
ผิวสีชมพู หน้ามีตุ่มผุด ขอบๆริมฝีบางแห้ง
ศรีษะและใบหน้าสมมาตรดี
สะดือเริ่มแห้ง หายใจปกติ
12.Bonding & attachment
หลังคลอดมารดามีสัมพันธ์ที่ดีต่อลูก ให้นมบุตร
นำลูกมานอนด้วย
ครอบครัวสามีมาเยี่ยม
13.Belief madel
ความเชื่อที่มีผลกับการปฏิบัติตัวหลังคลอด ได้แก่ การรับประทานอาหาร การอยู่ไฟ การเลี้ยงดูบุตร
แม่บอกว่าหลังกลับบ้านจะอยู่ไฟ อบตัว
อาจจะซื้อสมุนไพรขับน้ำคาวปลามากิน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
ระยะ active ปากมดลูกเปิดเร็ว
มีแผลในโพรงมดลูก แผลในฝีเย็บ
การพยาบาล
ประเมิน v/s " BP ต่ำ Pulse เบาเร็ว - ตกเลือด "
แนะนำมารดาตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูก สอนคลึงมดลูก
สังเกตน้ำคาวปลา, แผลฝีเย็บ
กระตุ้นให้มารดาปสว.เองทุก 4-6 ชม.
นำทารกเข้าเต้าเพื่อช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวตามแผนการรักษาของแผล
ประเมินผล
แผลฝีเย็บไม่มีเลือดซึม น้ำคาวปลาสีปกติ มดลูกหดรัดตัวดี
2.มารดาพร่องความรู้ในการให้นมบุตร
ข้อมูลสนับสนุน
หัวนมแตก
สอนการเข้าเต้า ดูดนมอย่างถูกวิธี ดูดบ่อยขึ้นทุก1-2ชม.
ดึงหัวนมออกจากปากอย่างถูกวิธี
ปล่อยให้หัวนมแห้งเองหลังให้นม
แนะนำให้บีบน้ำนมทาบริเวณหัวนมที่แตกแล้วปล่อยให้แห้งเอง
เปลี่ยนท่าอุ้มทารกเป็น football hold
หลีกเลี่ยงการถูสบู่บริเวณหัวนม
งดให้บุตรดูดนมข้างนั้น
ประเมินผล
แม่เข้าเต้าถูกวิธี หัวนมไม่แตก
เต้านมคัดตึง
ให้บุตรดูดนมบ่อยมากขึ้น
ประคบด้วยความร้อน
นวดและบีบน้ำนมออก
ให้ยาแก้ปวด
ประเมินผล
เต้านมนิ่มขึ้น ไม่ปวด
เข้าเต้าไม่ถูกวิธี
3.การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
มารดาให้นมบุตร ควรเพิ่มพลังงานอาหาร 500 kcal/วัน
โปรตีน 40g แคลเซียม 200mg.
ดื่มน้ำอย่างน้อย 2-3ลิตร
งดอาหารหมักดอง รสจัด แอลกอฮอล์
อาหารกระตุ้นน้ำนม เช่น หัวปลี ขิง กุ่ยช่าย แกงเลียง
การคุมกำเนิด - มารดาไม่อยากมีบุตรเพิ่มแล้วแต่ไม่อยากทำหมัน
ถ้าแม่ให้นมบุตรสม่ำเสมอ
แนะนำยาคุมชนิด ฮอร์โมนเดี่ยว สามารถทานได้ร่วมกับการให้นมบุตร และให้เริ่มทานภายใน5วันระหว่างมีประจำเดือนรอบแรก
แนะนำยาฝังคุมกำเนิด สามารถคุมกำเนิดได้3ปี ผลข้างเคียงน้อย แนะนำฝังภายใน5วันแรกของประจำเดือนหรือ6Weekหลังคลอด
ถ้าน้ำนมมาไม่สม่ำเสมอแนะนำให้เริ่มคุมกำเนิดหลังคลอด1เดือน
การอยู่ไฟ แนะนำให้ทำหลังจากมดลูกเข้าอู่แล้วประมาณ1เดือน
อาการผิดปกติที่ควรมา รพ.
มีไข้
น้ำคาวปลาสีแดง ไม่จางลง มีกลิ่นเหม็น
หลังคลอด 2 week คลำพบก้อนทางหน้าท้อง
แผลฝีเย็บแยก บวมแดง มีหนอง
การออกำลังกายให้ออกกำลังกายเบาๆ
ไม่ควรยกของหนัก