Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบที่สำคัญของสมุนไพร - Coggle Diagram
ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบที่สำคัญของสมุนไพร
อันตรกิริยาระหวางยาสมุนไพร
กับยาแผนปัจจุบัน
อันตรกิริยา
คือ ปฏิกิริยาทางเภสัชวระหว่างของสารทั้งสองชนิดทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงระดับของยาในร่างกายการต้านฤทธิ์ การเสริมฤทธิ์ การเพิ่มหรือลดผลข้างเคียงของยา การเกิดพิษ หรืออาจทำให้เกิดฤทธิ์ใหม่
แบ่งเป็น 2 ประเภท
อันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์
แบ่งเป็น 2 ประเภท
การออกฤทธิ์เสริมกัน
ยารักษาเบาหวาน อินซูลิน(ลดน้ำตาลในเลือด)ทานร่วมกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีผลลดน้ำตาลในเลือด
มะระขี้นก ว่านหางจระเข้ โสม
จะเสริมการออกฤทธิ์ ทำให้ได้ผลดีและเสี่ยงอันตรายเช่นกัน
ผู้ที่รับประทานยาละลายลิ่มเลือด อาจเกิดอันตรายกิริยากับอาหารประเภท ที่มีส่วนของกรดไขมันที่สูง
อาจมีผลเสริมฤทธิ์กัน
น้ำมันปลา น้ำมันดอกคำฝอย
ผู้ป่วยที่รับประทานยาวาร์ฟาริน จะต้องระมัดระวังการใช้สมุนไพร รที่ออกฤทธิ์ตรงตำแหน่งเดียวกันกับยา
รากชะเอม ขิง กระเทียม
การออกฤทธิ์ต้านกัน
ผู้ป่วยที่รับประทานยาวาร์ฟาริน จะต้องระมัดระวังการรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มี Vitamin K สูง
กลไกการออกฤทธิ์ของยาวาร์ฟารินอส่งผลต้านการทำงานของยาวาร์ฟาริน
Vitamin K มีผลลดประสิทธิภาพการทำงานของยาวาร์ฟารินได้
ชาเขียว ยอ บร็อกโคลี
ผู้ป่วยที่รับประทานยากดภูมิคุ้มกัน ระวังการทานผลิตภีณฑ์เสริมอาหารที่มีผลต่อการกระตุ้น
ฟ้าทะลายโจร เห็ดหลินจือ
อันตรกิริยาทางด้านเภสัชจลศาสตร์
เริ่มตั้งแต่บริหารยาเข้าสู่ร่างกายจนถึงกระบวนการกำจัดออก
การดูดซึมยา
กระบวนการนี้สมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สามารถเกิดอันตรกิริยาต่อยาได้
เพิ่มการดูดซึม
ยาที่สามารถละลายในไขมันได้ถูกดูดซึมได้ดีขึ้นเมื่อทานกับผลิตภัณฑ์เสริมที่มีไขมัน
1 more item...
ลดการดูดซึม
ยาบางชนิดอาจถูกรบกวนการดูดซึมยาหากทานร่วมกับสมุนไพรเสริมอาหารประเภทกากใยสูง
1 more item...
เกิดสารประกอบที่ซับซ้อน
ยาบางชนิดอาจเกิดการจับกับสมุนไพรในระหว่างการบริหารยา
1 more item...
การกระจายยา
เกี่ยวข้องกับการไหลเวียนของเลือดและการกระจายยาไปสู่การออกฤทธิ์
การกระจายตัวยาจากเลือดผ่านเนื้อเยื่อ
เป็นโปรตีนในร่างกายที่ฝังตัวอยู่บนพื้นผิวของเซลล์ทางเดินอาหาร
1 more item...
การจับตัวของยา
ยาที่มีค่า protein binding ที่สูงจะจับกับอัลบูมิน
2 more items...
การเปลี่ยนแปลงยา
อาศัยเอนไซม์ในการเปลี่ยนแปลงยา ก่อนเข้าสู่การขับออกจากร่างกาย (ตับ)
1 more item...
การขับยาออกจากร่างกาย
กระบวนการกำจัดยาออกจากร่างกาย ซึ่งยาส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางไต
1 more item...
พืชมีพิษ
พืชที่มีพิษาสามารถนำมาใช้ประโยชน์ด้านต่างๆได้
วางยาพิษ
ล่าสัตว์
รักษาได้ถ้านำมาใช้ในปริมาณที่น้อย แต่ถ้ามีการใช้ในปริมาณมากก็จะเป็นพิษ
แต่ก่อนมีการนำมาใช้เป็นปัจจัย4
ที่อยู่ ยารักษา อาหารและเครื่องนุ่งห่ม
ความเป็นพิษขึ้นอยู่กับ
โอกาสเกิดพิษในเด็กจะมากกว่าผู้ใหญ่
ขนาดของสารพิษก่อให้เกิดความเป็นพิษในเด็กต่ำกว่าผู้ใหญ่
ปริมาณพืชที่ทานเข้าไป
จำแนกกลุ่มของพืชมีพิษ 5 กลุ่ม
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร
ทำให้เกิดการอาเจียนและท้องเสียเล็กน้อย เพราะว่าพืชมีสารพิษที่เป็นแอลคาลอยด์
lycorine
crinamine
lycoramine
การรักษา
ควรจะล้างท้อง และใช้ถ่านในการดูดพิษแอลคาลอยด์
มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
พืชกลุ่มนี้ถ้ากินเข้าไป จะไม่มีอาการคันคอ แต่จะทำให้เกิดอาการ
อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสียหลังทานไป 1 ชั่วโมง
มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุปากและลำคอ
พืชเหล่านี้จะออกฤทธิ์ทันที ทำให้เกิดอาการเจ็บปวดบริเวณปากและคอ
มักจะมีผลึกของแคลเซียมออกซาเลทอยู่ภายในเซลล์ที่เรียกว่า raphidesทำให้ปวดแสบปวดร้อนภายในปาก
การรักษา
ล้างปาก รับประทานยาลดกรดครงั้ละ 2 ช้อนโต๊ะ ทุก ๆ 2 ช่ัวโมงหรือสมุนไพรที่มีกรด
น้ำมะขาม