Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 7 รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามวิธีการทำงาน
แบบการฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน
สักษณะสำคัญ
ความเป็นมืออาชีพ
ทำงานใต้บังคับบัญชาแบบเบ็ดเสร็จ
เนื้อหาอบรมเฉพาะด้าน
เวลาทำงานแน่นอน
เยี่ยมเยียนสม่ำเสมอ
เชื่อมโยงงานส่งเสริม+งานวิจัย
เชื่อถือได้
แนวทาง
การฝึกอบรม
เนื้อหา
ด้านสมรรถนะ
ด้านวิชาการ
ด้านแผนงานโครงการ
วิธีการ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การฝึกอบรม
การเยี่ยมเยียน
จันทร์> ประชุมวางแผน
อังคาร> งานเน้นหนัก
พุธ>งานปกติ
พฤหัส>งานนโยบาย
ศุกร์>สรุปงาน
ข้อพิจารณา
การสั่งแบบ TOP DOWN
ทำงานแบบแยกส่วน
ไม่ยืดหยุ่น
ไม่มีความยั่งยืน
แบบการบริการเบ็ดเสร็จ
ลักษณะสำคัญ
จุดบริการสะดวก
มีเกษตรกรต้นแบบ
มีหลักสูตรชัดเจน
เน้นปฏิบัติจริง
บริหารงานร่วมกัน
แผนพัฒนาเกิดจากชุมชน
แนวทาง
เพิ่มจุดบริการ
สร้างเครือข่ายเกษตรกรต้นแบบ
สำรวจข้อมูลในพื้นที่
จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรในพื้นที่
จัดการความรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
การถ่ายทอดความรู้
การรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม
บริการข้อมูลข่าวสาร
ข้อพิจารณา
ความรุ้+ความเข้าใจในการทำงาน
งบประมาณมีจำกัด
กฎ ระเบียบต่างๆ
บทบาท นวส.
แบบการมีส่วนร่วม
ลักษณะสำคัญ
กระจายอำนาจตัดสินใจ
มีส่วนร่วมในกิจกรรม
ความเสมอภาค
พัฒนาความสามารถตนเอง
ร่วมจัดสรรผลประโยชน์
องค์ประกอบ
แนวทางการมีส่วนร่วม
สภาพแวดล้อม
บริบท+การสนับสนุน
แนวทาง
เกษตรกร=ศูนย์กลางการพัฒนา
นวส= ผู้จัดกระบวนการ
ภาคีเครือข่าย= ที่ปรึกษา
ข้อควรพิจารณา
การขาดความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
การได้มาซึ่งปัญหาที่ชัดเจน
ความไม่มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร
การเตรียมความพร้อมให้ชุมชน
การสร้างโอกาส
แบบโครงการ
ลักษณะสำคัญ
โครงการส่งเสริมการเกษตร
โครงการแบบระบบลูกโซ่
โครงการแบบเครือข่าย
โครงการแบบระบบวงจร
ขั้นตอนการดำเนินการ
กำหนดวัตถุประสงค์
กำหนดระยะเวลาดำเนินการ
กำหนดขอบเขต
พื้นที่
การบริหารงาน/ความรับผิดชอบ
รูปแบบการดำเนินการ
ทำสัญญากับผู้เกี่ยวข้อง
แนวทาง
การวินิจฉัยปัญหา
การกำหนดวัถุประสงค์
ทำแผนปฏิบัติงาน
ดำเนินการตามแผน
ติดตามประเมินผล
ข้อควรพิจารณา
มุ่งผลลัพธ์ที่เกิดกับกลุ่มเป้าหมายหลัก
การพึ่งพากันและกัน
ความเป็นเอกภาพ
ความขัดแย้ง
ความยั่งยืนของโครงการ
การเชื่อมโยงภาระกิจประจำ
แบบผสมผสาน
ลักษณะสำคัญ
ผสมผสานหลายศาสตร์ความรู้
ผสมผสานหลายรูปแบบ
แก้ไขปัญหาคงามเชื่อมโยง
มีส่วนร่วมในการทำงาน
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ประหยัดทรัพยากร
นวส.ทำงานแบบูรณาการ
ข้อควรพิจารณา
การศึกษษสภาพพื้นที่
ออกแบบรูปแบบผสมผสาน
ศึกษาลักษณะการทำงาน
ประเมินผลเพื่อใช้ในพื้นที่ใหม่
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามวัตถุประสงค์
เพื่อพึ่งพาตนเอง
ลักษณะสำคัญ
การพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี
การพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจ
การพึ่งพาตนเองทางทรัพยากรธรรมชาติ
การพึ่งพาตนเองทางจิตใจ
การพึ่งพาตนเองทางสังคม
แนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง
3 ขั้น
ครัวเรือน
รวมกลุ่ม
มเชื่อมโยงเครือข่าย
คุณลักษณะ
3 ห่วง
มีเหตุผล
พอประมาณ
มีภูมิคุ้มกัน
2 เงื่อนไข
ความรู้
คุณธรรม
ข้อพิจารณา
มีระดับขั้นตอนของการพัฒนา
วิเคราะห์การพึ่งพาตนนเองได้หลายมิติ
เพื่อการดำเนินการเชิงธุรกิจ
ลักษณะสำคัญ
การส่งเสริมการขาย
ส่งเสริมแบบครบวงจร
ส่งเสริมแบบตลาดนำการผลิต
ส่งเสริมแบบหวังกำไรทางอ้อม
แนวทางการส่งเสริม
จัดหาปัจจัยการผลิต
พัฒนาด้านการผลิต
ด้านการตลาด
ผลิตภัณฑ์
ราคา
การจัดจำหน่าย
การตลาด
Logistic
การเคลื่อนย้ายสินค้า
การจัดระบบข้อมูลสินค้า
การจัดการคลังสินค้า
ด้านการเงิน
ด้านการบริหารทรัพยากรณ์มนุษย์
ข้อควรพิจารณา
ความชัดเจนของข้อมูลการตลาด
นวัตกรรมการจัดการ
ทักษะการจัดการ
วิเคราะห์การเกษตรทั้งห่วงโซ่อุปทาน
เตรียมพร้อมรับความเสี่ยง
การข้อถึงข้อมูลข่าวสาร
มาตราการจูงใจ
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามจุดเน้น
จำแนกตามบุคคลเป้าหมาย
ลักษณะสำคัญ
เน้นบุคคลที่ต้องการพัฒนา
เกษตรกรรายย่อย
กลุ่มเกษตรกร
เครือข่ายเกษตรกร
แนวทางการส่งเสริม
เกษตรกรราย่อย
สร้างองค์ความรู้
สร้างความมั่่นคง
อาชีพ
ปลอดภัยทางอาหาร
สร้างภูมิคุ้มกัน
กลุ่มเกษตรกร
สร้างองค์ความรู้
สนับสนุนการดำเนินงาน
บริการจัดการองค์กร
สร้างขีดความสามารถ
ส่งเสริมการบริหารจัดการกลุ่ม
เครือข่ายเกษตร
สนับสนุนการเข้าถึงข้อมูล
ส่งเสริมการลงทุน
สนับสนุนการวิจัย+พัฒนา
สร้างแรงจูงใจ
ผลักดันการเชื่อมโยงภาคีเครือข่าย
ปรับปรุงกฎระเบียบ
ข้อควรพิจารณา
เข้าใจเป้าหมาย
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงบุคคล
ส่งเสริมที่เหมาะกับเป้าหมาย
จำแนกตามพื้นที่เป้าหมาย
ลักษณะสำคัญ
กำหนดเป้าหมาย
พื้นที่
การพัฒนา
มีผู้ประสานงานในพื้นที่
การบริหารจัดการแปลง
การตลาด
การผลิต
การรวมกลุ่ม
ประสานงานเครือข่าย+ภาคี
ขั้นตอนการพัฒนา
ขั้นเตรียมการ
กำหนดพื้นที่เป้าหมาย
กำหนดแนวทางการดำเนินการ
ประชาสัมพันธ์
ขั้นพัฒนาผู้ประสานงาน
อบรมผู้จัด
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
จัดทีมให้คำแนะนำแก่ผู้ประสานงานพื้นที่
ขั้นดำเนินงาน
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การบริหารจัดการผลิต+การตลาด
ขั้นติดตาม
ข้อควรพิจารณา
วิเคราะห์พื้นที่ให้ชัดเจน
ไม่ยึดติดพื้นที่การปกครอง
ประสานงานเชิงบูรณาการ
แบ่งปัน ไม่แข่งขัน
จำแนกตามสินค้าและบริการเป้าหมาย
ลักษณะสำคัญ
การกำหนดสินค้า+บริการเป้าหมาย
วิเคราะห์ความสามารถในการผลิตในพื้นที่
การผลิตสอดคล้องกับสถานการณ์
แนวทางการส่งเสริม
พัฒนาคลอดห่วงโซ่อุปทาน
เพิ่มมูลค่าสินค้า
เพิ่มคุณค่าสินค้า
พัฒนาระบบโลจิสติกส์
การเคลื่อนย้าย
พัฒนาการเคลื่อนย้ายข้อมูล
ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรต่อ สวล.
ถ่ายทอดเทคโนโลยีปลอดภัยต่อ สวล.
เสิรมสร้างการมีส่วนร่วม
ส่งเสริมการใช้สลากที่เป็นมิตรต่อ สวล.
พัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ
สร้างความมั่นคงทางอาหาร+พลังงาน
มีเพียงพอ
ผลิตบนความปลอดภัยทางอาหาร
ทั่วถึง
พัฒนาระบบการตลาด
ส่งเสริม Logistic
ตั้งศูนย์กระจายสินค้า
ส่งเสริมการตลาดเฉพาะ
สนับสนุนการสร้างเครือข่าย
สร้างองค์ความรู้ด้านการตลาด
ข้อควรพิจารณา
อัตลักษณ์สินค้า+บริการ
การเกิดนวัตกรรมสินค้า+บริการ
คุณภาพ+มาตรฐานสินค้า+บริการ
พิจารณาตลอด
ความสอดคล้องอุปทาน+อุปสงค์
การสื่อสารกับตลาดผู้บริโภค