Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์ของโรค
ในต่างประเทศ
อิรัก กินขนมปังที่มีสารป้องกันกำจัดเชื้อราจำนวนมาก
โรคอิไต อิไต มีอาการปวดตามข้อและกระดูกเนื่องจากโรงงานปล่อยสารแคดเมียมไปปนเปื้อนในน้ำและดิน
สหรัฐอเมริกา แคนนาดา และแอฟริกา เกิดโรคพิษจากแอสเบสตอสและมะเร็งปอด
โรคมินามาตะ ที่ญี่ปุ่นเกิดจากการปล่อยน้ำทิ้งของโรงงานพลาสติกที่มีสาร methyl mercury มีสารปรอทลงอ่าวมินามาตะ
เวียดนามเกิดโรคพิษฝนเหลือง เกิดจากทหารปล่อยสารจำจัดศัตรูพืชและฝนตกทำให้สารผสมกันและแพร่กระจาย
จีนและสหรัฐอเมริกา พบผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือด จากเบนซินในโรงงานอุสาหกรรม
ในประเทศไทย
คนที่ทำงานเกี่ยวกับการผลิตรองเท้าโดยใช้สารเบนซิน
โรคพิษของแอสเบสตอสกับคนงานทีทำงานเกี่ยวกับแร่หินเป็นมะเร็งปอดจนเสียชีวิต
สารคลอรีนรั่วไหล ทำให้พนักงานและชาวบ้านที่อยู่รอบสูดดมสารดังกล่าวทำให้หมดสติและผู้บาดเจ็บเกือบ50คน
โรคพิษจากแมงกานิสของผู้ที่ทำงานผลิตถ่านไฟฉาย
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดระหว่าง15-59 ปี
ผู้ป่วยรางงานตามตามกลุ่มโรค
กลุ่มพิษจากสัตว์
กลุ่มโรคผิวหนัง
กลุ่มโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคเหตุภาวะทางกายภาพ การได้ยินเสื่อมเหตุเสียงดัง ผลจากความร้อน อื่นๆ
กลุ่มโรคปอดและระบบทางเดินหายใจ หืดเหตุอาชีพ หลอดลมอังเสบเรื้อรัง อื่นๆ
พิษจากสัตว์ พิษงู พิษผึ้ง ต่อ แตน พิษจากตะขาบและอื่นๆ
พิษจากก๊าช ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย ก๊าชอื่นๆ
พิษจากสารเคมีการเกษตรและสารเคมีอื่นๆ สารกำจัดแมลงศัตรูพืช สารกำจัดวัชพืช สารเคมีที่ใช้ในบ้านเรือน
โรคมะเร็งจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
คือมะเร็งที่มีสาเหตุจากการได้รับหรือสัมผัสกับสารก่อมะเร็ง เบนซิน มะเร็งเม็ดเลือดขาว
กลไกการเกิดมะเร็ง
ระยะที่ 1 Initiiation เปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม
ระยะที่ 2 Promotion สะสมการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของเซลล์ใช้เวลา5-10 ปี
ระยะที่ 3 Transfoormattion การเปลี่ยนแปลงสารรพันธุกรรมกลายเป็นเซลล์มะเร็ง
ระยะที่ 4 Progression ระยะที่เป็นเซลล์มะเร็ง
วิธีควบคุมด้านสุขศาสตร์อุสาหกรรม
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เป็นการควบคุมที่ตัวคนทานโดยการสวมใส่เครื่องป้องกันอันตราย
การควบคุมทางการบริหารจัดการเป็นการควบคุมทางผ่าน
การควบคุมทางวิศวกรรม เป็นการควบคุมที่แหล่งกำเนิด
ปัจจัยสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
ต้นเหตุของโรค
ทางกายภาพ เชน ความร้อน ความเย็น เสียง แสง ความสั่นสะเทือน รังสี ฝุ่น
ทางเคมี เช่น สารระลาย ของแข็ง ก๊าช
ชีวภาพ ร่างกายได้รับเชื้อโรค เช่น ปอดอักเสบจากฝุ่นฝ้าย
จิตวิทยาสังคม ส่งผลกระทบทางด้านจิตใจ เช่น แรงกดดัน
สาเหตุเกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
นายจ้างขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพ
ขาดความเอาใจใส่ถึงความปลอดภัยในการทำงาน
ทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง
เศรษฐกิจ ทำให้คนทำงานล่วงเวลามากขึ้น
สิ่งแวดล้อมอื่นๆ เช่น อุปกรณ์การทำงาน เพื่อนร่วมงาน
ตัวผู้ประกอบอาชีพ
อายุ หนุ่มสาวจะมีความแข็งแรงมากกว่าวัยเยาว์และผู้สูงอายุ เนื่องจากสรีระทางร่างกาย
เพศ หญิงมีโอกาสเจ็บป่วยมากกว่าเพศชาย
สภาวะสุขภาพ ผู้ท่างกายไม่สมบูรณ์แข็งแรงอาจเกิดโรคจากการทำงานได้ง่าย
ระยะเวลาในการทำงาน
ความรู้ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัย
ความไวต่อการแพ้แต่ละคนไม่เท่ากัน
ความหมายและความสำคัญ
โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดกับผู้ปฏิบัติงานที่สัมผัสหรืออยู่ในบรรยากาศการทำงานที่เป็นพิษจนเป็นสาเหตุให้สุขภาพเสื่อมโทรมจนเจ็บป่วยเป็นโรคหรือพิการ
การเจ็บป่วย คือ การที่ลูกจ้างอยู่ในบรรยากาศการทำงานเกิดการเจ็บป่วยหรือตายเนื่องจากงานให้นายจ้าง
หลักการควบคุมป้องกันโรค
ควบคุมและป้องกันด้านตัวบุคคล ให้การศึกษาและป้องกันโดยใช้อุปกรณ์ ตรวจสุขภาพ
การบริหารจัดการ
ตรวจสภาพการทำงานติดตั้งสัญญาณเตือนภัย
ระบบระบายอากาศทั้งฉพาะที่และทั่วไป
แยกกระบวนการอันตรายออกเป็นพื้นที่เฉพาะ
หาสารเคมีที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงหรืออันตรายน้อยกว่าทดแทนสารที่เป็นอันตรายมากกว่า
ทำงานเป็นกะ
การเฝ้าระวังโรค
ควบคุมและป้องกันที่สิ่งแวดล้อม ยึดทฤษฎี5ส
โรคผิวหนังที่เกิดจากการทำงาน
ไม่พบสาเหตุอื่นนอกเหนือจจากงาน
อาการดีขึ้นเมื่อหยุดทำงาน
ผื่นเกิดภายหลังเริ่มทำงาน
ผื่นเกิดบริเวณที่สัมผัส
มีประวัติสัมผัสสารก่อภูมิแพ้
ผิวหนังอักเสบ
ส่วนใหญ่พบบริเวณมือ
ทดสอบเอาสารที่คิดว่าแพ้แปะไว้2วันถ้าแพ้จะเกิดผลบวก
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับร่างกาย
ระบบย่อยอาหาร เป็นระบบสำคัญเกิดอันตรายได้ง่าย แต่ไม่อันตรายน้อย
ระบบเลือด เกิดความผิดปกติแบบเรื้อรังและเฉียบพลันน้อยมาก
ระบบกล้ามเนื้อ เกิดอันตรายไม่มากนัก
ท่อปัสสาวะ โอกาสเกิดอันตราย จนถึงขั้นเสียชีวิต
ผิวหนัง รุนแรงไม่สูงนักยกเว้นเฉียบพลันอาจเสียชีวิตได้
ระบบประสาท โอกาสเกิดอันตรายน้อยมากและไม่ปรากฎจนถึงขั้นเสียชีวิต
ระบบทางเดินหายใจ ระบบหลักของร่างกายเมื่อเกิดโรคก็จะรุนแรงและเสียชีวิตได้ง่าย
โรคจากการประกอบอาชีพจากสารเคมีต่างๆ
โรคจากพิษของแมงกานีส
ไข้ คลื่นใส้ อาเจียน ปวดเมื่อยลำตัว หลอดลมและปอดอักเสบ
เช่น อุสาหกรรมถลุงเหล็กโลหะ อุสาหกรรมทำถ่านไฟฉาย เข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจอาไอควันเข้าไปสะสมในร่างกกายและเข้าสู่กระแสเลือดสะสมในตับ ไต ลำไส้เล็ก กระดูกและในรก สมองและขับออกทางปัสสาวะ อุจจาระ
โรคจากพิษของสังกะสี
อาการเมื่อรางกายได้รับไอ ฟูมหรือฝุ่นเข้าไปปริมาณมากเกิดอาการไข้ ปวดกล้ามเนื้อ กระหายน้ำ และส่วนใหญ่อาการมักหายก่อน48ชั่วโมง ถ้าทำตลอดเวลาร่างกายเกิดความต้านทานขึ้นจะหายหากหยุดทำแต่จะกลับมาเมื่อทำอีก
คนที่ทำงานเกี่ยวกับการเชื่อม แผ่นแม่พิมพ์ การชุบ การเคลือบสังกะสี
โรคจากพิษของสารหนู
เข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเอาฝุ่นละอองเข้าไป ดูดซึมผ่านทางผิวหนังและระบบทางเดินอาหาร ปนเปื้อนอาหารโดยทางปากเป็นพิษต่ออวัยวะต่างๆของร่างกาย
เฉียบพลัน ระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร อาเจียน ท้องร่วง ช็อค ระคายเคืองต่อระบบหายใจอย่างรุนแรง หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก
เรื้อรัง ระบบทางเดินอาหารผิดปกติ ตับูกทำลาย ผิวหนังเปลี่ยนสีเป็นมะเร็งผิวหนังได้ เข้าสู่กระแสโลหิตระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อสมอง ความจำเสื่อมได้
โรคจากพิษของแคดเมียม
หายใจ ระคายเคืองระบบหายใจ คอแห้ง เหงื่อออกมาก ไข้ขึ้นสูง ไอ เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก
คุณสมบัติทนต่อการผุกร่อน อ่อน งอได้ง่าย เช่น เครื่องบิน แบตเตอรี่ ทำสีน้ำมัน การสัมผัส เช่น การถลุงแร่โลหะพวกสังกะสีที่มีแคดเมียมปนอยู่ด้วย
การกิน เฉียบพลันใน15นาทีถึง2ชั่วโมง น้ำลายไหล อาเจียนเป็นเลือดช็อค ท้องเดิน และจะดีขึ้นภายใน24ชั่วโมง
ปวดตามข้อ ตามกระดูกทั่วร่างกาย แคดเมียมทำลายกระดูกโดยเฉพาะกระดูกเชิงกราน บางรายพบวงแหวนสีเหหลืองบริเวณเหงือก
โรคจากพิษของสารปรอท (Mercury Poisoning)
อาการเฉียบพลัน หากสูดไอปรอทในปริมาณสูงทันทีจะระคายเคืองต่อระบบหายใจอย่างรุนแรง หากรับประทานเข้าไปมากเกิดอาการปวดท้อง อาเจียน ถ่ายเป็นเลือด การทำงานอวัยวะต่างๆถูกทำลาย
อาการเรื้อรัง อ่อนเพลีย เงือกและปากอักเสบ มีอากรสั่นกระตุก เป็นอันตรายต่อระบบประสาทส่วนกลาง สมองและไต
คนงานที่ทำเครื่องมมืออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ ยารักษาโรค สี เข้าสู่ร่างกายโดบการหายใจ ซึมผ่านผิวหนังและโดยการกิน เมื่อปรอทเข้าสู่ร่างกายจะซึมเข้าสู่กระแสเลือดอวัยวะต่างๆถูกทำลาย
โรคจากพิษของโครเมียม
แผลเนื่องจากการอักเสบผิวหนัง เช่น โคนนเล็บมือ ข้อมือ หลังเท้า จะมีลักษณะเป็นแผลลึก ไม่รู้สึกเจ็บ แต่คันเวลากลางคืน
เป็นแท่งสีขาวมันวาว ผู้ที่สัมผัสได้แก่ การฟอกหนัง อุสาหกรรมปูนซีเมนต์ มีโอกาสรับเอาละอองโดยการสัมผัสทางผิวหนัง สูดหายใจ ทางปาก
ผนังกันรูจมูกทะลุ เนื่องจากสูดหายใจเอาควันเข้าไป เกิดการทำลายเยื่อเมือกและเนื้อเยื่อผนังกั้น
ระบบทางเดินอาหาร เกิดอาการคลื่นใส้ อาเจียน เป็นแผลในลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่อักเสบ
โรคจากพิษของฟอสฟอรัส
อาการเฉียบพลัน ระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร ตับ ไต ลำไส้ถูกทำลาย
อาการเรื้อรัง การหายใจเอาไอระเหยเข้าไปทีละน้อยเกิดสะสมทำใหเกิดการทำลายกระดูกขากรรไกร
อุสาหกรรมผลิตปุ๋ยเคมี ไม้ขีดไฟ ยาเบื่อหนูเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ รับประทาน และผิวหนัง
โรคจากพิษของสารตะกั่ว (Lead Poisoning)
อาการเฉียบพลัน ปวดศรีษะ ตาพร่า ปวดท้องรุนแรงเบื่ออาหาร อาเจียน ชักหมดสติ จนถึงเสียชีวิต
อาการเรื้อรัง ที่รับสารตะกั่วเป็นเวลานาน อาการมึนงง เบื่ออาหาร ร่างกายอ่อนแอ มีเส้นดำบริเวณรอยต่อเหงือกและฟัน
ทำงานเกี่ยวกับกระบวนการผลิต การบรรจุ ทำงานในบริเวณที่มีสารตะกั่ว ฝุ่นตะกั่ว โดยการกิน การดูดซึมทางผิวหนังและโดยการหายใจมากที่สุด สะสมที่กล้ามเนื้อ ระบบไหลเวียนโลหิตและในกระดูก
โรคจากพิษของเบนซิน
อาการรุนแรง หากได้รับในปริมาณมากอาจหมดสติ ม่านตาขยายไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ หายใจช้า และเสียชีวิต
อาการเรื้อรัง หน้ามืด มือสั่น โลหิตจาง ระยะท้ายเลือดออกเป็นจ้ำๆตามตัว
ในอุสาหกรรมทำยางต่างๆ
โรคจากฝุ่นหินทราย
หายใจขัด หอบ หายใจสั้น ไอ เจ็บหน้าอก อาจเสียชีวิต5-10 ปีถ้าสะสมมาก
ทราย ในอุสาหกรรม กระดาษทราย หินขัด วัสดุทนไฟ โรงงานแก้วเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเอาผงเล็กๆน้อยกว่า10ไมครอน ทำให้ปอดปวม ถุงลมโป่งพอง วัณโรค เสียชีวิตได้