Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบที่สำคัญ ของพืชสมุนไพร, นางสาว บุศกร …
บทที่3 ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบที่สำคัญ
ของพืชสมุนไพร
สมุนไพรเพื่อความงาม
ความหมายของเวชสำอาง
เวชสำอางใช้แล้วมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายได้ หรืออาจเรียกได้ว่าเป็น Functional cosmetics มันก็เลยมีชื่อกึ่ง ๆ ระหว่างยากับเครื่องสำอำง
สมุนไพรกับการใช้ในเวชสำอาง
Anti-acne
ชาเขียว
โลชั่น 2 % ทาวันละ 2 ครั้ง 6 สัปดาห์
ไพล
เจล 1 % จำนวนสิวที่ลดลงweekที่ 2,4,8
สารสกัดเปลือกมังคุด
เจลสารสกัอเอทานอล 1 % w/w
ยาเบญจโลกวิเชียร
คนทา
ย่านาง
เท้ายายม่อม
มะเดื่ออุทุมพร
ชิงชี่
ว่านหางจระเข้+น้ำมันกะเพรา 2%
ทาหลังล้างหน้า เช้า-เย็น 4สัปดาห์ บรรเทาอาการอักเสบของสิว
น้ำมันหอมระเหยใบมะกรูด+แมงกะแซง ตะไคร้ กะเพรา โหรพา
ทาบริเวณที่เป็นสิว วันละ 2 ครั้ง 6 สัปดาห์
ลดการอักเสบของสิว ไม่มีผลต่อสิวอุดตันที่ไม่อักเสบ
Anti-aging
ขมิ้นชัน
ช่วยต้านการเกิดริ้วรอย
สารสกัดจากน้ำมันรำข้าว
เพิ่มความชุ่มชื่นแก่ผิว
และเพิ่มความยืดหยุ่นให้ผิว
ผลแตงกวา
ทำให้ผิวหน้าชุ่มชื้น อ่อนละมุน และขาวขึ้น
บัวบก
ลดเลือนริ้วรอย + asiaticoside 0.1 % ทาวันละ 2 ครั้ง 12 สัปดาห์
มะขามป้อม
กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน
ว่านหางจระเข้
เพิ่มความชุ่มชืนให้ผิว
Anti-pollution
ขมิ้นชัน
ข้าว
ชาเขียว
มะขามป้อม
หม่อน
องุ่น
บัวบก
Hair cosmetic
ว่านมหาเมฆ
ช่วยเพิ่มการเจริญของผม
ทองพันชั่ง
ช่วยในเรื่องผมเป็นรังแคจากเชื้อรา
Nutricosmetic
ถั่วเหลือง
มีพวก genistein ทำให้มีการสร้าง collagen
ผักหรือผลไม้สีแดง เหลือง
ประกอบด้วย lycopene ซึ่งเป็น antioxidant
ช่วยป้องกัน UV
ผักใบเขียว
ช่วยสร้างคอลลาเจน
ถั่วเมล็ด / กรดไขมัน
อันตรกิริยา
คือ ปฏิกิริยาทางเภสัชวิทยาระหว่างกันของสารทั้งสองชนิดทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงระดับของยาในร่างกายการต้านฤทธิ์ การเสริมฤทธิ์ การเพิ่มหรือลดผลข้างเคียงของยา การเกิดพิษ หรืออาจทำให้เกิดฤทธิ์ใหม่
ปฏิกิริยาทางด้าน
เภสัชวิทยา 2 ประเภท
อันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์
(Pharmacodynamic interactions)
คือปฏิกิริยาที่มีผลเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ของยาทั้งทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยา แต่ไม่มีผลต่อระดับความเข้มข้นของยาในร่างกาย
การออกฤทธิ์ต้านกัน (Antagonist interactions)
การออกฤทธิ์เสริมกัน (Additive or Synergistic interactions)
อันตรกิริยาทางด้านเภสัชจลศาสตร์
(Pharmacokinetic interactions)
คือปฏิกิริยาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับยาในร่างกายไปจากปกติ ทั้งในเลือด เนื้อเยื่อ หรือตำแหน่งที่ยาออกฤทธิ์
สามารถแบ่งเป็น
กระบวนการต่าง ๆ ดังนี้
การดูดซึมยา (Absorption)
เกิดสารประกอบที่ซับซ้อน (complex)
เพิ่มการเคลื่อนที่ผ่านทางเดินอาหาร (Increase GI mobility)
เปลี่ยนแปลงระดับ pH
การกระจายยา (Distribution)
การเปลี่ยนแปลงยา (Metabolism)
การขับยาออกจากร่างกาย (Excretion)
แนวทางการป้องกันอันตรกิริยาของสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกับยาแผนปัจจุบัน
การทราบถึงชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญชื่อท้องถิ่น หรือชื่อพ้องของสมุนไพร และส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
อันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบางชนิดสามารถป้องกันได้โดยเฉพาะอันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์ (Pharmacodynamic interactions)
การสอบถามถึงอาการไม่พึงประสงค์จากอันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมที่อาจจะเกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ดูแลเป็นประจำจะทำให้ทราบถึงปัญหาอย่างทันท่วงที
การจัดทำฐานข้อมูลอันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริม
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล พยายามสั่งใช้ยาเฉพาะที่จำเป็นกับผู้ป่วย และสร้างความตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะ
ขิง
เหง้าแก่ฝนกับน้ำมะนาว
ดีปลี
ผลแก่แห้งฝนกับน้ำมะนาว
เพลา
เมล็ดใส่น้ำต้มไฟอ่อนๆ
มะขามป้อม
เนื้อผลแก่สดโขลก ใส่เกลือเล็กน้อย
มะขาม
เนื้อในฝัก
มะแว้งต้น
ผลแก่สด โขลกพอแหลก คั้นเอาแต่น้ำ
มะแวงเครือ
ผลแก่สด โคลกเอาแต่น้ำใส่เกลือ หรือใช้ผลสดเคี้ยวแล้วกลืนทั้งน้ำทั้งเนื้อ
สมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษากระดูกและกล้ามเนื้อ
ยารับประทาน
เถาวัลย์เปรียง
แทนยากลุ่ม NSIAD
สหัศธารา
แทนยากลุ่ม NSIAD
ยาใช้ภายนอก
ยาหม่องไพล
Analgesic balm
น้ำมันไพล
Analgesic balm
ครีมไพล
Analgesic balm
พริก
Diclofenac gel
การใช้กัญชาในวงการแพทย์
เภสัชพฤกษศาสตร์
ของกัญชา
กัญชาเป็นพืชในวงศ์ Cannabidaceae มี 3 สายพันธุ์ที่พบบ่อยคือ Cannabis sativa, Cannabis indica และ Cannabis rudealis สาหรับสายพันธุ์ที่พบมากในประเทศไทยจะเป็นสายพันธุ์ Cannabis sativa ซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดีในลักษณะอากาศแบบร้อนชื้น
สารสาคัญคือ ไฟโตแคนนาบินอยด์ ซึ่งสารตัวหลักและเป็นชนิดที่รู้จักกันมากที่สุด คือ delta-9-Tetrahydrocannabinol (THC) และ cannabidiol (CBD)
สารประกอบหลักอีกกลุ่มหนึ่งคือ สารเทอร์ปีน ที่ทาให้กัญชาแต่ละสายพันธุ์มีกลิ่นและรสแตกต่างกัน เชื่อกันว่า สารเทอร์ปีนอาจทางานร่วมกับสารแคนนาบินอยด์เพื่อเปลี่ยนหรือเพิ่มฤทธิ์ทางยา ซึ่งผลของการทางานร่วมกันของสารนี้ เรียกว่า Entourage effect
ผลิตภัณฑ์กัญชา
ทางการแพทย์ได้ประโยชน์
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบาบัด (chemotherapy induced nausea and vomiting)
โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา (intractable epilepsy)
ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (multiple sclerosis)
ภาวะปวดประสาท (neuropathic pain)
ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้าหนักตัวน้อย
การเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
ตำรับยาแผนไทยที่มีกัญชา
หมายถึง ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ในตาราการแพทย์แผนไทย โดยคาแนะนาของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกและสภาการแพทย์แผนไทย
ขนาดยาและการบริหารยา
ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาแต่ละชนิด ขนาดยาที่เหมาะสมขึ้นกับลักษณะของผู้ป่วย
ผู้ที่เริ่มต้นรักษา และได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นครั้งแรกควรเริ่มต้นที่ขนาดต่ามาก ๆ หากเกิดผลข้างเคียง และควรปฏิบัติดังนี้
ปรับลดขนาดยา เมื่อพบอาการ
มึนเวียนศีรษะ (dizziness)
เสียความสมดุล
(loss of co-ordination)
หัวใจเต้นช้า (bradycardia)
ความดันโลหิตผิดปกติ
(abnormal pressure)
หยุดใช้ทันที เมื่อพบอาการ
สับสน (disorientation)
กระวนกระวาย (agitation)
วิตกกังวล (anxiety)
ประสาทหลอน (hallucination)
โรคจิต (psychosis)
ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ที่มี
THC เป็นส่วนประกอบ
ผู้ที่มีประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสกัดกัญชา
ผู้ที่มีอาการรุนแรงของ unstable cardio-pulmonary disease (angina, peripheral vascular disease, cerebrovascular disease และ arrhythmia)
ผู้ที่เป็นโรคจิตมาก่อน หรือมีอาการของโรคอารมณ์แปรปรวน
หลีกเลี่ยงการใช้ในสตรีมีครรภ์ สตรีที่ให้นมบุตร รวมถึงสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ไม่ได้คุมกาเนิด
สมุนไพรที่ใช้แต่งสี
สีเขียว
ใบเตยหอม
สีแดง
กระเจี๊ยบแดง=สีแดง
ฝาง=สีชมพูอ่อน
ข้าวแดง=สีแดงคล้ำ
ถั่วแดง=สีแดงคล้ำ
หัวบีทรูท=สีแดงทับทิม
ครั่ง=สีแดงทับทิม
สีน้ำตาล
โกโก้
สีเหลือง
ดอกกรรณิกา=สีเหลืองทอง
ขมิ้น
ดอกคำฝอย=สีเหลืองอมส้ม
คำแสด=สีเหลืองอมน้ำตาล
ลูกตาล
ฟักทอง
มันเทศ
พุด
หญ้าฝรั่น
สีส้ม
ส้มเขียวหวาน
แครอท
สีม่วง
ข้าวเหนียวดำ
ผักปลัง
ดอกอัญชัน
สีดำ
กาบมะพร้าว
ถั่วดำ
สมุนไพรที่ใช้เป็น
ยาฆ่าแมลง ไล่แมลง
สมุนไพรไล่ยุง
กะเพรา นำใบมาขยี้ ๆ วางไว้ใกล้ตัว
ขมิ้น ตำหมักนำ้1 คืนแล้วฉีดพ้น
ตะไคร้หอม ใช้น้ำมันฉีดพ้น
มะกรูด ผิว/ใบมาบีบให้ได้น้ำมัน
สมุนไพรไล่มอด
กานพลู
กระเพรา
กระวาน
พริกไทยดำ
พริกแห้ง
ใบมะกรูดสด
สมุนไพรไล่มด
หน่อไม้ดอง
พริกป่น
ขมิ้น
พริกสดและผิวมะกรูด
สมุนไพรไล่ปลวก
ข่า ตะไคร้ กระเทียม
ใบขี้เหล็ก / น้ำส้มสายชู /เกลือ
สมุนไพรไล่แมงมุม
ส้ม / เปปเปอร์มิ้น / เกลือ / เกาลัด
สมุนไพรไล่แมลงสาบ
ใบกระวาน / กานพลู / พริกไทย
สมุนไพรไล่แมลงวัน
เปลือกส้ม/น้ำส้มสายชู/กระเทียม/ผักกลิ่นฉุน/ตะไคร้หอม
สมุนไพรไล่แมลงหวี่
กาบมะพร้าว กับ เครือกระทกรก
ใบหางนกยูง/ดอกดาวเรือง/ตะไคร้
สมุนไพรไล่ตั๊กแตน
น้อยหน่า/สะเดา/เลี่ยน
สมุนไพรไล่เพลี้ยแป้ง
นำ้ยาล้างจาน/พริกสด
สมุนไพรไล่เพลี้ยอ่อน
หางไหลแดง/ยาสูบ/สะเดา/สาบเสือ
สมุนไพรฆ่าเหา
ยูคาลิปตัส/หนอนตายหยาก/น้อยหน่า/ผักเสี้ยน
สมุนไพรไล่เห็บ หมัด
มะคำดีควาย/มะขาม/น้อยหน่า/สะเดา/ไพล/เมล็ดมันแกว
สมุนไพรไล่หนู
ใบพลู ข่า กระเทียม/น้ำมันสะระแหน่/น้ำมันระกำ+น้ำมันสะระแหน่ /มะกรูด/ยี่โถ
สมุนไพรไล่จิ้งจก
ใบสาบเสือ ใบน้อยหน่า
พืชที่มีพิษ
มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
กลุ่มท่ีมีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุปากและลำคอ
กลุ่มท่ีมีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร
กลุ่มท่ีมีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
กลุ่มท่ีมีผลทำให้กระเพาะและลำไส้อักเสบอย่างช้าๆ
กลุ่มท่ีมีสารเลคติน สารเลคตินเป็นโปรตีนชนิดหนึ่งซึ่งถูกดูดซึมได้อย่างช้าๆ
กลุ่มท่ีมีสารสเตียรอยด์แอคคาลอยด์
กลุ่มท่ีมีสารออกซาเลท หรือกรดออกซาลิก
กลุ่มท่ีมีสารโคลชิซีน
ผลต่อระบบเลือดและหัวใจ
พืชท่ีมีสารกลุ่มคาร์ดิแอคกลัยโคไซด
พืชท่ีมีสารไซยาโนจินิคกลัยโคไซด์
ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง
กลุ่มท่ีมีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง(CNSdepressants)
กลุ่มท่ีมีฤทธิ์ทำให้ชัก(convulsants)
กลุ่มท่ีมีฤทธิ์ทำให้ประสาทหลอน (hallucinogens)
ระคายเคืองผิวหนัง
พืชท่ีมีหนามหรือขนและมีสารพิษ
พืชท่ีมียาง
พืชท่ีมีเอนไซม์
พืชท่ีมี calcium oxalates
ผลต่อทางเดินปัสสาวะ
ลูกเนียง
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาระบาย
ชุมเห็ดเทศ = ดอกสดต้มจิ้มน้ำพริก ใบสดหั่นตากแห้ง ต้มเอาน้ำดื่ม ใบแห้งบดเป็นผงชงแบบชาถุง ปั้นเป็นลูกกลอน
มะขาม =คั้นน้ำใส่เกลือเล็กน้อยแล้วทานหรือจิ้มเกลือแล้วดื่มน้ำตามมากๆ
มะขามแขก = ใบแห้งต้มน้ำดื่มหรือบดเป็นผงชงน้ำดื่ม(ไม่ควรใช้กับคนท้องหรือกำลังมีประจำเดือน)
แมงลัก = เมล็ดแช่น้ำอุ่นจนพองตัวเต็มที่
ขี้เหล็ก = ใบต้มเอาน้ำดื่ม หรือ ใช้ใบอ่อนดองเหล้า 7วัน
คูน= เนื้อในฝัก ต้มกับน้ำใส่เกลือเล็กน้อย
ดอกชมจันทร์
ธรณีสันฑะฆาต
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย
ฝรั่ง=ใบแก่ปิ้งไฟชงน้ำดื่ม หรือผลอ่อนฝนกับน้ำปูนใส ทานเมื่อมีอาการ
กล้วยน้ำว้า=ผลห่ามมหรือผลดิบฝานตากแดดหรืออบ บดเป็นผงชงน้ำดื่มหรือผสมน้ำผึ้งเป็นลูกกลอน
ฟ้าทะลายโจร=ใบสดต้มเอาน้ำดื่มหรือผึ่งลมให้แห้ง บดเป็นผงทำเป็นลูกกลอนใบแห้งดองเหล้า 7วัน
ทับทิม=เปลือกผลแห้งฝนหรือต้มกับน้ำปูนใสดื่ม
มังคุด=เปลือกแห้งย่างไฟให้เกรียม ฝนกับน้ำปูนใสหรือบดเป็นผงละลายน้ำข้าวหรือน้ำต้มสุก
สีเสียดเหนือ=ก้อนบดผง ต้มเอาน้ำดื่ม
ยาเหลืองปิดสมุทร บรรเทาอาการท้องเสียชนิดไม่เกิดการติดเชื้อ
ยาธาตุบรรจบ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อและไม่มีไข้
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับพยาธิ
ฟักทอง=เมล็ดทุบให้แตกผสมน้ำตาลและนมหรือน้ำหลังให้ยา 2 ชั่วโมง ทานน้ำมันละหุ่งระบายตาม
มะเกลือ = ผลสด โขลกพอแหลกผสมกะทิสดคั้นเอาแต่นำ้ดื่มตามทันที 3ชั่วโมงไม่ถ่ายใช้น้ำผสมดีเกลือดื่มช่วยถ่าย
บุคคลที่ไม่ควรใช้
เด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี
สตรีมีครรภ์ หรือหลังคลอดใหม่ๆ
ผู้ป่วยมีไข้
ผู้ป่วยโรคอื่นๆ
ข้อควรระวัง
ห้ามทานผลดำ เพราะผลดำมีพิษ
เมื่อคั้นน้ำแล้วให้ทานทันที เพราะทิ้งไว้นานจะเป็นพิษ
ห้ามปั่นกับน้ำปูนใส
ห้ามใช้มะเกลือเกินขนาด
มะหาด = ผงปวกหาด บดละเอียด ผสมน้ำสุกเย็น หลังให้ยา 2 ชั่วโมง ใช้น้ำผสมดีเกลือดื่มช่วยถ่ายตาม
มะขาม = เมล็ดแก่คั่ว กระเทาะเปลือก เอาเนื้อด้านใน แช่น้ำเกลือจนนุ่ม
เล็บมือนาง = เมล็ดทุบพอแตก ต้มเอาน้ำดื่มหรือหั่นทอดกินกับไข่กิน
สะแก = เมล็ดแก่ ตำให้ละเอียดทอดกับไข่กิน
นางสาว บุศกร ชุ่มจิตร เลขที่42 รหัส 62111301044