Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พืชสมุนไพรบทที่3 - Coggle Diagram
พืชสมุนไพรบทที่3
สมุนไพรไล่แมลงและสัตว์รังควาน
มีการตื่นตัวเรื่องสิ่งแวดล้อมและการบริโภคเพื่อสุขภาพกันเพิ่มมากขึ้น ผู้คนทั่วโลกต่างเสาะแสวงหาสิ่งด ารงชีพที่ปราศจากการปนเปื้อนของสารเคมีและสารพิษต่าง ๆ ดังนั้น การใช้สมุนไพรและสารสกัดจากสมุนไพรในการไล่แมลงรวมทั้งการป้องกันและปราบศัตรูพืช ทดแทนการใช้สารเคมีอันตรายจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ได้ผลดีและปลอดภัย
สมุนไพรไล่ยุง
กะเพรา ⇒ นำใบมาขยี้ ๆ จะมีกลิ่นน ้ามันหอมระเหยออกมา
วางไว้ใกล้ ๆตัว
ขมิน้ ⇒ นำหัวขมิ้นแห้ง 0.5 กรัม ต าแล้วหมักในน ้า 2 ลิตร
หมักไว้ 1 คืนแล้วฉีดพ่น
ตะไคร้หอม ⇒ นำใบและต้นประมาณ 4 - 5 ต้นมาทุบ จะมีกลิ่นน้ำมันหอมระเหยออกมาวางไว้ใกล้ ๆ ตัว หรือใช้น ้ามันตะไคร้หอมฉีดพ่น
มะกรูด ⇒ นำใบสดหรือผิวมะกรูดมาบีบให้ได้กลิ่นน้ำมันหอมระเหย
สมุนไพรไล่มอด
กะเพรา ⇒ นำใบและกิ่งก้านมาวางคลุมกระสอบข้าวสาร
กระวาน ⇒ นำใบสัก 2 - 3 ใบ ใส่ลงไปในถังข้าวสาร
กานพลู⇒ นำดอกกานพลูใส่ลงไปในถังข้าวสาร
พริกไทยดำ ⇒ นำไปใส่ในผ้าขาวบางแล้วผูกปากให้มิด
พริกแห้ง ⇒ ใช้ 1 กำมือใส่ในผ้าขาวบาง แล้วใส่ไว้ในถังข้าวสาร
ใบมะกรูดสด ⇒ ฉีกใบออกเป็น 2 ส่วน แล้วใส่ลงไปในถังข้าวสาร
สมุนไพรไล่มด
หน่อไม้ดอง ⇒ น าน ้าหน่อไม้ดองไปราดบริเวณรังมด ฝูงมดที่อยู่ในรังก็จะพากันอพยพย้ายออกไป แต่วิธีการนี้อาจต้องระวังเรื่องของกลิ่น ไม่ควรราดใกล้บริเวณบ้านหรือในห้องนอน
พริกป่ น ⇒ 1 ขีด ผสมน ้าเปล่า 1 ลิตร คนให้เข้ากันแล้วปิดฝาทิ้งไว้ 1 คืน จากนั้นวันถัดมานำน ้าที่ผสมแล้วมากรองน าน ้าที่กรองได้ประมาณครึ่งขันละลายกับสบู่ ผสมให้เข้ากัน แล้วนำไปฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณที่มีมดอาศัยอยู่
ขมิน้ ⇒ น าขมิ้นสดมาบดให้ละเอียดและเติมน ้ามันก๊าดผสมลงไป คนส่วนผสมทั้งสองอย่างให้เข้ากัน และนำปเทบริเวณรังมด หรือพื้นที่ที่มีมดเดินผ่าน
สมุนไพรไล่ปลวก
ข่า ตะไคร้ กระเทียม ⇒ นำข่า ตะไคร้ และกระเทียมในปริมาณเท่า ๆ กัน (รวมกันประมาณ 2กิโลกรัม) มาสับให้ละเอียด ผสมกับเหล้าขาว 1 ขวด น้ำส้มสายชู 1 ขวด และน้ำเปล่า 20 ลิตร ปิดฝาให้สนิท แล้วปล่อยทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ นำไปฉีดพ่น
ใบขีเ้หล็ก ⇒ นำใบขี้เหล็กประมาณ 5 กรัม มาบด ตำหรือปั่ ให้ละเอียด จากนั้นก็ใส่น้ำลงไปประมาณ 20 มิลลิลิตร
น้ำส้มสายชู⇒ ตวงน้ำส้มสายชูประมาณครึ่งถ้วย แล้วใช้มะนาวประมาณ 2 ซีก บีบน้ำมะนาวลงไป จากนั้นก็หยดน ้ามันหอมระเหยส้มลงไปเล็กน้อย นำไปฉีดพ่น
เกลือ ⇒ ผสมน ้าอุ่นกับเกลือเข้าด้วยกันในอัตราส่วน 1:1 คนจนเกลือละลายเข้ากับน้ำ เทใส่ในขวดสเปรย์ นำไปฉีดพ่นบริเวณที่มีปลวกอยู่ เมื่อปลวกกินน้ำเกลือเข้าไป ก็จะเกิดภาวะขาดน้ำและค่อย ๆ ตายไปในที่สุด
สมุนไพรไล่แมงมุม
ส้ม ⇒ นำเปลือกส้มหรือพืชตระกูลส้ม เช่น ส้มเขียวหวาน ส้มโอ ส้มเช้ง เลมอน มะกรูด มะนาวมาถู ๆ บี้ ๆ ให้น ้าในเปลือกออกมา นำไปวางไว้บริเวณที่แมงมุมอย
เปปเปอร์มินต์ ⇒ ผสมน้ำกับนน้ำมันหอมระเหยเปปเปอร์มินต์หรือน้ำมันตะไคร้หอม แล้วนำไปฉีดพ่นให้รอบบ้าน เน้นตรงจุดที่มักจะเจอแมงมุมไต่อยู่หรือหยดน้ำมันหอมระเหยเปปเปอร์มินต์ลงบนก้อนสำลี แล้วนำสำลีไปวางไว้ตามจุดต่าง ๆ ภายในบ้าน
เกาลัด ⇒ น าเกาลัดมาเจาะรูบริเวณเปลือก น าไปวางตามจุดต่าง ๆ ในบ้าน ก็เป็นการก าจัดแมงมุมอีกวิธีหนึ่ง เพราะแมงมุมเกลียดเกาลัด
สมุนไพรไล่แมลงสาบ
ใบกระวานแห้ง ⇒ นำไปวางไว้ตามจุดที่เจ้าแมลงสาบชอบออกมาหากิน ให้วางเอาไว้จนกว่ามันจะหนีไป มันจะไม่กลับมารบกวนอีกนำไปวางตามจุดที่คิดว่ามีแมลงสาบ ทำเป็นประจำสักพักแมลงสาบก็จะค่อย ๆ หายไป
กานพลู⇒ นำกานพลูใส่ถุงผ้าบาง ๆ แล้วไปวางในจุดที่พบว่ามีแมลงสาบชอบออกมาเดิน หรือใช้น้ำมันกานพลูหยดใส่เศษผ้าผืนเล็ก ๆ
สมุนไพรไล่แมลงวัน
เปลือกส้ม ⇒ นำเปลือกส้มไปตากแดด นำมาเผาให้เกิดควัน นอกจากจะช่วยไล่แมลงวันได้แล้วยังช่วยลดกลิ่นอับภายในบ้านได้อีกทางหนึ่ง
น้ำส้มสายชู⇒ นำน้ำส้มสายชูมาผสมกับน้ำ โดยให้สัดส่วนของน้ำส้มสายชูจากนั้นนำไปใส่กระบอกฉีดพ่นบริเวณที่มีแมลงวัน
ตะไคร้หอม ⇒ ใช้น้ำมันตะไคร้หอมฉีดพ่น กลิ่นหอมปนฉุนของตะไคร้หอม จะช่วยไล่แมลงวันและยุงได้ในคราวเดียวกันเลย
สมุนไพรไล่แมลงหวี่
กาบมะพร้าว กับ เครือกระทกรก ⇒ นำกาบมะพร้าวกับเครือกระทกรกที่ตากแห้งแล้วมามัดจุดไฟให้เกิดควัน แมลงหวี่จะหนีไป ไม่กลับมาอีก
ใบหางนกยูง ⇒ เพียงน าก้านของใบหางนกยูงมาใส่ไว้บนแจกันบนโต๊ะทำงาน หรือบริเวณที่แมลงหวี่มารบกวน (แมลงหวี่ไม่ชอบกลิ่นของใบหางนกยูง)
ตะไคร้⇒ นำน้ำมันตะไคร้สกัดเข้มข้นประมาณ 8 - 10 หยดมาผสมกับน้ำสะอาด 1/4 ถ้วยตวงหลังจากนั้นเทใส่ขวดสเปรย์ แล้วนำไปฉีด
บริเวณต่าง ๆ ในบ้าน
สมุนไพรไล่ต๊ักแตน
น้อยหน่า ⇒ ใช้เมล็ด ผลดิบ ใบสด หรือเนื้อในเมล็ด ตำละเอียด ผสมน้ำกรองเอาน้ำใช้ฉีดพ่น
สะเดา ⇒ นำเมล็ดสะเดา 1 กิโลกรัม บดให้ละเอียด ห่อผ้าแช่น ้า 1 ปี๊บ แช่ทิ้งไว้ 1 คืน ก่อนใช้ผสมน ้าสบู่ 1 ช้อนโต๊ะ นำไปฉีดพ่นทุก 7 วัน
ในตอนเย็น
เลี่ยน ⇒ ใช้ใบตากแห้งมาต้ม กรองเอาน้ำฉีดพ่นแปลงผัก
สมุนไพรไล่เพลีย้ แป้ง
เพลี้ยแป้ง มักระบาดหนักในช่วงที่อากาศร้อนและชื้น เราอาจเห็นเป็นราดำตามมา เพราะน ้าหวานที่เพลี้ยแป้งผลิตออกมามากจะทำให้ราขึ้น
ซึ่งจะลุกลามจนทำให้ต้นไม้ตายได้
น้ำยาล้างจาน ⇒ มีฤทธิ์ลดแรงตึงผิว ทำให้ขี้ผึ้งที่เพลี้ยแป้งสร้างคลุมตัวเสียไป และหายใจไม่ได้โดยใช้อัตราส่วนน ้ายาล้างจาน 3 ช้อนโต๊ะต่อนน้ำ 20 ลิตร หากได้ผลก็จะเห็นเพลี้ยแป้งฝ่อแห้งไป
สมุนไพรไล่เพลีย้ อ่อน
หางไหลแดง ⇒ ตัดรากหางไหลแดง (โล่ติ๊น) ยาวประมาณ 2 - 6 เซนติเมตร จำนวน 500 กรัมทุบแล้วแช่น ้า 3 -4 ปี๊บ ผสมสบู่ กรองเอาน้ำฉีดพ่นแปลงผัก
ยาสูบ ⇒ ใช้ใบและต้นจำนวน 1 กิโลกรัม ผสมน ้า 2 ลิตร ต้ม 1 ชั่วโมง หรือแช่น้ำ 1 คืน ผสมด้วยสบู่ 1 ก้อน กรองเอาน ้ายา แล้วผสมน้ำอีก 3 ปี๊บนำไปฉีดพ่นแปลงผัก 3 - 4 ครั้งต่อวัน
สะเดา ⇒ ใช้เนื้อในเมล็ดสะเดา ½ - 1 กิโลกรัม บดแช่น้ำ 1 ปี๊บ ทิ้งไว้ 1 คืน กรองเอาน้ำฉีดพ่นแปลงผัก
สมุนไพรฆ่าเหา
ยูคาลิปตัส ⇒ ใช้ใบตำให้ละเอียด แล้วกรองส่วนของน้ำคั้น ผสมน้ำมันพืชในสัดส่วน 1:1 ชโลมเส้นผมทิ้งไว้ 2 ชั่วโมง แล้วสระล้างออก
หนอนตายหยาก ⇒ ใช้รากตำให้ละเอียด ผสมน้ำมันพืชชโลมผม
ผักเสี้ยน ⇒ ใช้เมล็ดตาผสมน้ำชโลมผม
สมุนไพรไล่เห็บ หมัด
มะขาม ⇒ นำมะขามเปียกมาต้มกับน้ำเปล่าให้เดือดแล้วปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น จากนั้นนำน้ำมาใส่ขวดสเปรย์ นำไปฉีดบริเวณที่มีเห็บ หมัด
สะเดา ⇒ ใช้ใบสะเดา 500 กรัม น ามาปั่นหรือตำให้ละเอียด และนำไปผสมกับน้ำเปล่า 5 ลิตรกรองน ามาใช้แต่น้ำนำไปทาตามตัวสุนัข
หรือผสมน้ำอาบ
สมุนไพรไล่หนู
น ้ามันสะระแหน่ ⇒ นำน ้ามันสะระแหน่มาหยดใส่ก้อนลำสีให้พอมีกลิ่นฉุนๆ นำไปวางตามจุดที่หนูซ่อนตัวอยู่ หรือใช้วิธีปลูกต้นสะระแหน่ไว้ที่บ้านเลย
น้ำมันระกา นำมันสะระแหน่ ⇒ ใช้น้ำมันสะระแหน่ 9 ช้อนโต๊ะ ผสมกับนน้ำมันระก า 1 ช้อนโต๊ะใส่ในภาชนะ น าวางไว้ตามพื้นที่ที่หนูมักจะเดินผ่าน
มะกรูด ⇒ นำผลมะกรูดสดมาผ่าครึ่ง วางไว้ตามจุดที่หนูชอบอยู่
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาระบาย
ชุมเห็ดเทศ
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตันหรือปวดท้องโดยไม่ทราบสาเหตุ
ควรระวังการใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
รับประทานยาในขนาดสูงอาจทำให้เกิดไตอักเสบ
ควรระวังในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร
มะขาม
แมงลัก
ขี้เหล็ก
ขิง
กะเพรา
ยอ
คูน
มะขามแขก
ยาดีเกลือฝรั่ง
บรรเทาอาการท้องผูกหรืออาการท้องผูกเรื้อรัง
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก
ห้ามใช้ในภาวะทางเดินอาหารอุดตัน
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติเฉียบพลันที่ทางเดินอาหาร
ยาธรณีสันฑะฆาต
ห้ามใช้ในผู้หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้และเด็ก
ระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดลิ่มและยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด
การใช้กัญชาทางการแพทย์
ประวัติศาสตร์การใช้กัญชา
กัญชา คือ พืชออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทชนิดแรกท่ีมนษุยร์ูจ้กันเป็นเวลากว่าหลายพันปีที่กัญชาได้เข้าสู่สังคมมนุษย์จนกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิตมนุษย์ในหลากหลายฐานะกระจายตัวไปทั่วโลก
ประวัติศาสตร์การใช้กัญชาทางการแพทย์
ในช่วงเวลา 8,000 ก่อนคริสตกาล (Before Common Era หรือ BCE)กัญชาถูกบันทึกว่าเป็นพืชไร่ที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง มีการใช้ประโยชน์จากเส้นใยมีการปลูกพืชกัญชาแบบแปลงเกษตรในแถบพื้นที่ที่ปัจจุบันเป็นประเทศไต้หวัน และในยุคเดียวกันนั้นมีการบันทึกการใช้กัญชาในตำรับยาโบราณของอินเดียอีกด้วย
2,737 BCE กัญชาถูกใช้เป็นยาโดย จักรพรรดิ Shen Neng แห่งอาณาจักรจีน
1,800 BCE ในประเทศอินเดีย “Bhang” “บัง” (ใบกัญชาแห้ง เมล็ด และดอก) ถูกกล่าวถึงในบันทึก
ลบัของศาสนาฮินดวูา่ เป็นพืชศกัดิส์ ิทธิ์ซึ่งสามารถใช้เป็นยา และใช้สำหรับถวายแด่พระศิวะ
ค.ศ. 130-200 กาเลน(Galen) แพทย์ชาวกรีกที่มีอิทธิพลต่อวิทยาศาสตร์การแพทย์ตะวันตกมา
เป็นเวลานานกว่าพันปี จ่ายยาที่ทำจากกัญชา
ค.ศ. 1621 หนังสือชื่อ The Anatomy of Melancholy เขียนโดย Robert Burton ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคซึมเศร้าจากมหาวิทยาลัย Oxford ระบุว่ากัญชาอาจช่วยรักษาอาการของโรคซึมเศร้าได้
ค.ศ. 1850 กัญชาถูกบรรจุเป็นต ารับยาในสหรัฐอเมริกา
ค.ศ. 1890 พระราชินี วิคตอเรีย (Queen Victoria) พระราชินีแห่งเกาะอังกฤษ ได้รับยาจากกัญชาโดยแพทย์ประจ าตัว Sir Jr. Reynolds เพื่อบรรเทาอาการปวดประจำเดือนและในยุคนั้นยาจากกัญชาสามารถหาซื้อได้ทั่วไปในเกาะอังกฤษ
ยุคมืดของกัญชา
ค.ศ. 1910 การปฏิวัติในเม็กซิโกท าให้ชาวเม็กซิกันหลบหนีสภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจที่ตกต่ำเข้ามาท างานในอเมริกาจำนวนมากชาวเม็กซิกันได้เข้ามาพร้อมกับวัฒนธรรมการใช้กัญชาเพื่อความเพลิดเพลิน อันเป็นส่วนหนึ่งที่เป็นจุดเริ่มต้นยุคมืดของกัญชา
ค.ศ. 1915- 1927 มลรัฐต่าง ๆ ในอเมริกาเริ่มมีการห้ามใช้กัญชาเพื่อความเพลิดเพลิน แต่ยังคงอนุญาตให้ใช้เป็นยาได้ เริ่มตั้งแต่ แคลิฟอร์เนีย (1915) เท็กซัส (1919) หลุยเซียน่า (1924) นิวยอร์ค (1927)
ค.ศ. 1934 กองปราบปรามยาเสพติดสหรัฐ น าโดย Harry J. Anslinger เริ่มมีการผลักดันให้กัญชาเป็นสิ่งผิดกฎหมาย โดยเริ่มต้นจากการร เปลี่ยนชื่อกัญชา จากที่เคยใช้ค าว่า “Cannabis” ไปเป็น“Marijuana” ที่มาจากภาษาเม็กซิกัน
ค.ศ. 1937 สภาคองเกรซของอเมริกาออกกฎหมายห้ามการใช้กัญชาทุกรูปแบบ ไม่เว้นแม้แต่การใช้เส้นใยในอุตสาหกรรม ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าเป็นอาชญากร การออกกฎหมายของอเมริกาในครั้งนี้นับเป็นการสร้างแรงสั่นสะเทือนเกี่ยวกับกฎหมายกัญชาไปทั่วโลก
ค.ศ. 1940 ทัศนคติ มุมมอง และการท าให้กัญชาผิดกฎหมายจากสหรัฐอเมริกาแพร่กระจายไปทั่วโลก
ค.ศ. 1941 กัญชาถูกลบออกจากตำรับยา และไม่ถูกพิจารณาเป็นยาอีกต่อไปในอเมริกา
ค.ศ. 1971 สหรัฐอเมริกามีการแบ่งบัญชียาเสพติดตามความรุนแรง และกัญชาถูกจัดอยู่ในบัญชีที่ 1 คือ ยาเสพติดที่รุนแรงที่สุด โดยไม่มีคุณสมบัติทางยาใด ๆ
ค.ศ. 1972 อดีตประธานาธิบดี Richard Nixon ต้องการเงินในการปราบปรามยาเสพติดจ านวนมาก เค้าจึงมอบหมายให้มหาวิทยาลัยเวอร์จีเนียทำงานวิจัยว่ากัญชานั้นก่อให้เกิดมะเร็งในผู้ใช้เพื่อสนับสนุนความชอบธรรมในการปราบปราม
สิ้นสุดยุคมืดของกัญชา
ค.ศ. 1999 รัฐบาลสหรัฐจดสิทธิบัตรกัญชาหมายเลข US6630507 B1 อ้างสิทธิในการใช้กัญชารักษาโรคทางระบบประสาทแต่ในขณะเดียวกัน กฎหมายและองค์การอาหารและยายังคงปฎิเสธว่ากัญชา
สามารถใช้เป็นยาได
วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2014 รัฐโคโลราโดประกาศให้กัญชาเป็นสิ่งถูกกฎหมายอย่างเต็มรูปแบบภายใต้การควบคุม ทั้งการผลิต ซื้อขาย และการเสพ เป็นสัญญาณแห่งการจบสิ้นยุคมืดของกัญชาและก้าวเข้าสู่ยุครุ่งเรืองอีกครั้ง
ประวัติการใช้กัญชาในสยามประเทศ
มีบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยอยุธยาว่า ตำารับยาที่มีกัญชาผสมอยู่นั้นสามารถช่วยให้นอนหลับได้ ทั้งยังทำาให้เกิดความสุขหลังการใช้ต ารับยาที่ผสมกัญชา ทั้งยังมีความปลอดภัยในระดับทูลเกล้าฯถวายพระมหากษัตริย์สยามมาช้านานแล้ว ดังที่มีปรากฏในคัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เช่น ต ารับยา "ศุขไสยาสน์“ เป็นต้น
การใช้กัญชาในนานาประเทศ
ออสเตรเลีย กำหนดให้การใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ถูกกฎหมาย ตั้งแต่ปี 2016
สหราชอาณาจักร มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แล้วตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2018
ในเกาหลีใต้ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แต่มีการควบคุมอย่างเคร่งครัด
เลโซโท ประเทศแรกในทวีปแอฟริกันที่อนุญาตให้มีการเพาะปลูกกัญชาเพื่อใช้ในทางการแพทย์ได้
อย่างถูกกฎหมาย
สหรัฐอเมริกา อนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แล้วทั้งหมด 33 จากทั้งหมด 50 รัฐ
รัฐบาลอุรุกวัยได้อนุญาตให้มีการขายกัญชาเพื่อสันทนาการตามร้านขายยาได้อย่างถูกกฎหมายเป็นชาติแรกในโลก หลังผ่านกฎหมายเสพกัญชาอย่างถูกกฎหมายมาตั้งเเต่ปี 2017
แคนาดา เป็นประเทศที่คึกคักที่สุดของธุรกิจกัญชา มีทั้งเปิดให้คนใช้เพื่อผ่อนคลายอารมณ์ และเปิดให้บริษัทเอกชนปลูก
กฎหมายทเี่กี่ยวข้องกับกัญชาในประเทศไทย
พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562 อนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อมเพื่อประโยชน์ ทางการแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยหรือการศึกษาวิจัยและพัฒนาภายใต้การควบคุมดูแลของผู้เชี่ยวชาญ
ตามมาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพตามที่ได้ระบุในกฎหมายเท่านั้น
มาตรา 26/3 ห้ามมิให้ผู้ใดจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
การมียาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ไว้ในครอบครองมีปริมาณตั้งแต่สิบกิโลกรัมขึ้นไป ให้สันนิษฐานว่ามีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย
มาตรา 76/1 ผู้ใดจ าหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจ าหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 26/3 โดยมีปริมาณยาเสพติดให้โทษไม่ถึงสิบกิโลกรัม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้ามียาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตั้งแต่สิบกิโลกรัมขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบห้าปีและปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งล้านห้าแสนบาท
มาตรา 22 แห่ง พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษฯ หลังวันที่ 21 พ.ค. 2562 ผู้ที่ครอบครองกัญชาสำหรับรักษาโรคแต่ไม่จดแจ้งจะถือว่ามีความผิดตามกฎหมาย
เภสัชพฤกษศาสตร์ของกัญชา
กัญชาเป็นพืชในวงศ์ Cannabidaceae มี 3 สายพันธุ์ที่พบบ่อยคือ Cannabis sativa, Cannabisindicaและ Cannabis rudealis
สายพันธุ์ที่พบมากในประเทศไทยจะเป็นสายพันธุ์Cannabis
sativaซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดีในลักษณะอากาศแบบร้อนชื้น
เภสัชวิทยาของกัญชา
Endocannabinoids ในร่างกายเป็นส่วนประกอบทางเคมีที่ร่างกายมนุษย์และสัตว์สร้างขึ้นได้เองตามธรรมชาติ
เกี่ยวข้องกับการสะสมและการกระจายพลังงานในร่างกาย โปรแกรมทีทำให้เซลล์ตาย (apoptosis)การตอบสนองต่อความเจ็บปวด การตอบสนองต่อสภาพเครียด และอื่น ๆอีกมาก
ข้อมูลการใช้กัญชาทางคลินิก
ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ทไี่ด้ประโยชน์
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบำบัด (chemotherapy induced nausea and vomiting)
โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา (intractableepilepsy)
ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) ในผู้ป่ วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง(multiple sclerosis)
ภาวะปวดประสาท (neuropathic pain)
ตำรับยาแผนไทยที่มีกัญชาหมายถึง ตำรับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ในตำราการแพทย์แผนไทย โดยคำแนะนำของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกและสภาการแพทย์แผนไทย
ตำรับยาแผนไทยทีมีกัญชาเป็นส่วนผสมจำนวน 16 ตำรับ
ยาน้ำมันสน่ันไตรภพ บรรเทาอาการเจ็บปวดท้องแข็งลามไปถึงยอดอก กินอาหารไม่ได้
ยาอัคคินีวคณะ แก้คลื่นเหียนอาเจียน เจริญอาหาร บำรุงกำลัง
ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง บรรเทาอาการปวดศีรษะ ตาแดง หูตาฝ้าฟาง หูอื้อ อ่อนเพลีย สวิงสวาย
ยาศุขไสยาศน์ช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร
ยาไฟอาวุธ แก้ลมจุกเสียด ปวดมวนท้อง
ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย แก้อาการตึงบริเวณปลายมือปลายเท้า หันหรือเอี้ยวคอไม่ได้
ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง บรรเทาอาการท้องผูก ปวดเมื่อตามร่างกาย ขับลม
ยาแก้นอนไม่หลับ / ยาแก้ไขผอมเหลือง แก้นอนไม่หลับ แก้ไขผอมเหลือง มีอาการตัวสั่น เสียงสั่น อ่อนเพลีย ไม่มีก าลัง
ยาแก้โรคจิต ลดความกังวล ความเครียด ช่วยให้นอนหลับ (โรคจิต ตามตำราแพทย์แผนไทย)
ยาอัมฤตโอสถ บรรเทาอาการตึงกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น มือ เท้าชา ผอมแห้งแรงน้อย จากความเสื่อมของร่างกาย
ยาไพสาลีบรรเทาอาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ ขับลม ช่วยให้หลับสบาย
ยาอไภยสาลีช่วยขับลม บรรเทาอาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ
ยาท าลายพระสุเมรุ บรรเทาอาการแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อ แขนขาอ่อนแรง และอาการชาในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต
ยาแก้ลมแก้เส้น บรรเทาอาการปวดตึงกล้ามเนื้อ ลดอาการมือเท้า ชา อ่อนกำาลัง
ยาทัพยาธิคุณ แก้จุกเสียดท้องแข็งเป็นเถาดาน อาการอัมพฤกษ์ เสียงแหบแห้ง ปวดเมื่อยร่างกายนอนไม่หลับ
ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนัง ทารักษาริดสีดวงทวารหนัก และทารักษาโรคผิวหนัง
ขนาดยาและการบริหารยา
ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาแต่ละชนิด ขนาดยาที่เหมาะสมขึ้นกับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละคนและปรับตามแต่ละผลิตภัณฑ์
ผู้ที่เริ่มต้นรักษา และได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นครั้งแรกควรเริ่มต้นที่ขนาดต่ำมาก ๆ
ข้อห้ามใช้ผลิตภณัฑท์ ที่มีTHC เป็นส่วนประกอบ
ผู้ที่มีประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสกัดกัญชา ซึ่งอาจเกิดจากส่วนประกอบอื่น ๆ และ/ หรือสารที่เป็นตัวทำาละลาย (solvent) ที่ใช้ในการสกัด
ผู้ที่มีอาการรุนแรงของ unstable cardio-pulmonary disease (angina, peripheral vascular disease,cerebrovascular disease และ arrhythmia) หรือมีปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ
ผู้ที่เป็นโรคจิตมาก่อน หรือมีอาการของโรคอารมณ์แปรปรวน (concurrent active mood disorder) หรือโรควิตกกังวล (anxietydisorder)
หลีกเลี่ยงการใช้ในสตรีมีครรภ์ สตรีที่ให้นมบุตร รวมถึงสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ไม่ได้คุมกำเนิด หรือสตรีที่วางแผนจะตั้งครรภ
ข้อควรระวังอื่น ๆ
การสั่งใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาที่มี THC เป็นส่วนประกอบในผู้ป่วยที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปี เนื่องจากผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นส่งผลต่อสมองที่กำลังพัฒนา
ผู้ที่เป็นโรคตับ
ผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดรวมถึงนิโคติน หรือเป็นผู้ดื่มสุราอย่างหนัก
ผู้ใช้ยาอื่น ๆ โดยเฉพาะยากลุ่ม opioids และยากล่อมประสาท อาทิ benzodiazepines
ผู้ป่วยเด็กและผู้ป่วยสูงอายุ
สมุนไพรที่ใช้แก้ไอ เสมหะ
ขิง
ดีปลี
มะขามป้อม
มะขาม
เพกา
มะนาว
มะแว้งเครือ
มะแว้งต้น
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรรักษาสิว Inhibit grown of P.acne
ว่านหางจรเข้
ชาเขียว
วัดการแพร่กระจายของสิว
ค่าเฉลี่ยรอยสิวทั้งหมดลดลง 58.33%
ค่าดัชนีรุนแรงทั้งหมดลดลง 39.02%
โลชั้น 2% ทาวันละ2ครั้ง6สัปดาห์
ไพร เจล1%
ลดรอยของสิวที่ลดลงสัปดาห์ที่ 2 3และ8
มีแนวโน้มให้ผลการรักษาสิวเล็กน้อยถึงปานกลาง
สารสกัดเปลือกมังคุด
เจลสสารสกัดเอทานอล 1% w/w
ประสิทธิภาพถูกทำลายเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
สารผสมกับการรักษาสิว
สารสกัดผสมตำรับยาเบญจโลกวิเชียร
ยาเบญจโลกวิเชียรเป็นตำรับยำแผนโบรำณของไทยที่มีการใช้กันมานานแล้วโดยมีสรรพคุณในการใช้แก้ไข้ กระทุ้งพิษ หรือถอนพิษต่าง ๆได้แก่ คนท่า ย่านาง เท้ำยายม่อม มะเดื่ออุทุมพร ชิงชี่
ต้านเชื้อ P.acnes S.epidermidis S.aureus
ลดการอักเสบของสิวชนิดหัวแดงหรือเป็นหนอง ไม่มีผลข้างเคียงรุนแรง
สารสกัด Aloe vera10% propolls 20% tea tree oll 3%
กลุ่มทดลอง อาการบวมแดงของสิวลดลงหลังใช้ 15 วัน
กลุ่มที่ได้รับยา erythromycin 30 วัน
โลชั่นวุ้นว่างหางจระเข้และน้ำมันกะเพรา(2%v/v)
ลดอาการอักเสบของสิว
สูตรที่มีวุ้นว่านมากว่า 50% บรรเทาอาการอักเสบได้ดี
มีประสิทธิภาพรักษาสิวอักเสบมากกว่าวุ้นว่านหางจระเข้อย่างเดียว
น้ำมันหอมระเหยใบมะกรูดผสม
ทาหน้าบริเวณที่มีสิว 2 ครั้ง 6 สัปดาห์
ลดการอักเสบของสิวแต่ไม่มีผลต่อสิวอุดตันที่ไม่อักเสบ
เครื่องสำอางหมายถึง สิ่งปรุงรวมถึงเครื่องหอมและสารหอมต่างๆที่ใช้บนผิวหนังที่มุ่งสำหรับทำความสะอาด ป้องกัน แต่งเสริม เพื่อความงามโดยไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของร่างกายแต่เวชสำอางจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของร่างกาย
สารและพืชที่ใช้ในเครื่องสำอาง Anti-aging
moisturizers
สมอ arjuna,แตงกวา,สมอไทย,วุ้นว่านหางจระเข้
skin matrix protectant
ขมิ้น,ขิง,ขา,ชา,บัวบก,บัวหลวง,ดาวเรือง,ใบฝรั่ง,ทับทิม,ถั่วเหลือง,สมอไทย
Free radical scavengers
กะเม็ง,ขมิ้นขัน,ชะเอม,มะขามป้อม,โหระพา
UV protectants
ชา,มะขามป้อม,ถั่วเหลือง,ทับทิม
ประโยชน์
ป้องกัน/ลดริ้วรอย
กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน
เพิ่มความชุ่มชื้น/ลดภาวะหน้าแห้ง
ยับยั้งการสร้างเม็ดสี
ครีมที่มีส่วนผสมของสารเคอร์มูมินอย์จากขมิ้นช่วยให้รอยย่น บริเวณหางตาลดลงภายใน 5 สัปดาห์
ผลแตงกวาในครีมบำรุงหน้าทำให้ผิวหน้าชุ่มชื้นอ่อนละมุนและขาวขึ้น
บัวบก
ลดเลือนริ้วรอย
ช่วยให้ผิวยืดหยุ่นและกระชับ
ผลมะข้ามป้อม
ลดเลือนริ้วรอย
ฤทธิ์กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน
ว่านหางจระเข้
เพิ่มความชุ้มชื้นให้ผิว
ลดรอยเหี่ยวย่นและลดจุดด่างดำ
เครื่องสำอางป้องกันมลพิษ Anti-pollution
ป้องกันผิวหนังไม่ให้ถูกทำลายจากมลภาวะ
เคลือบหรือปกป้องผิวหนังไม่ให้สัมผัสมลภาวะ
เพิ่มตวามสามรถของผิวหนังชั้นนอกสุดในการทำหน้าที่ปกป้องผิว
สมุนไพรที่ใช้ใน Anti-pollution
ขมิ้นชัน,ข้าว,งา,ชาเขียว,แตงกวา,บัวบก,ไพล,องุ่น,หม่อน,ว่านหางจระเข้,มังคุพ,มะพร้าว,มะขามป้อม,มะกรูด,มะขาม
ห้ามใช้ hydroquinone
สมุนไพรกับเส้นผม
มะกรูดเส้นผมงอกและเพิ่มความแข็งแรงของเส้นผมลดอาการหลุดร่วง
ว่านมหาเมฆ
อัญชันกระตุ้นการงอกของเส้นผม
ผมเป็นรังแคจากเชื้อรา
ยับยั้งเชื้อราโดยสาร rhinacanthin-c มีฤทธิ์แรงที่สุด
อาหารกับผิวสวย
ถั่วเหลือง
มีสารพวก genistein
ทำให้มีการสร้าง collagen
ยับยั้งเอนไซม์ที่ทำลายเซลล์ผิวหนัง
ผักหรือผลไม้สีแดง เหลือง
ประกอบด้วยสสาร lycopene ซึ่งเป็น antioxidant
เพิ่มการสร้าง collagen
ช่วยป้องกัน UV
ถั่วและกรดไขมัน
กรดโอเมก้าช่วยสร้างคอลลาเจน
ถั่วเมล็ดช่วยสร้างสาร hyaluronic acid
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย
ฝรั่ง
กล้วยน้ำว้า
ฟ้าทะลายโจร
ทับทิม
มังคุด
สีเสียดเหนือ
ยาตำรับสมุนไพรอุจจาระไม่เป็นมูกเลือด
ยาเหลืองปิดสมุทร
ชนิดผงและเม็ดผู้ใหญ่ทานครั้งละ 1 กรัมละลาย น้ำกระสายยาทุก 3-5 ชั่วโมงเมื่อมีอาการ
ชนิดผงและเม็ดอายุ 6-12 เดือนรับประทานอาหารครั้งละ300-400มิลลิกรัม
ชนิดผงและเม็ด6-12 ปีรับประทานครั้งละ800มิลลิกรัม-1กรัม ละลายน้ำกระสายยาทุก3-5ชั่วโมงเมื่อมีอาการ
ชนิดผงและเม็ดอายุ 1-5 ขวบรับประทานครั้งละ500-700มิลลิกรัม
ชนิดผงและเม็ดเด็กอายุ 3-5 เดือนรับประทานครั้งละ20มิลลิกรัม
น้ำกระสายที่ใช้ ใช้น้ำเปลือกลูกทับทิมหรือเปลือกแคต้มแทรกกับน้ำปูนใสเป็นน้ำกระสายยาสำหรับเด็กเล็กให้บดผสมกับน้ำกระสายยาใช้รับประทานหรือกวาดก็ได้
ใช้ได้ไม่เกินวันละ 1 วันหากอาการไ่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์
ยาธาตุบรรจบ
ชนิดผงผู้ใญ่ควรรับประทานครั้งละ 1 กรัม
ละลายน้ำกระสายยาวันละ 3 ครั้ง
ก่อนอาหารเมื่อมีอาการ
ชนิดผงเด็กอายุ 6-12 ปีรับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม
ละลายน้ำกระสายยา วันละ3ครั้ง ก่อนอาหารเมื่อมีอาการ
น้ำกระสายยาที่ใช้กรณีบรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อใช้เปลือกแคหรือเปลือกสะเดาหรือเปลือกลูกทับทิมต้มแทรกกับน้ำปูนใสเป็นน้ำกระสาย
ห้้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และผู้มีไข้
ยาแคปซูลฟ้าทะลายโจร
รับประทานครั้งละ 500มิลลิกรัม - 2กรัม วันละ4ครั้ง
หลังอาหารและก่อนนอน
ห้ามใช้กับผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจรและห้ามมใช้ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตรเนื่องจากอาจทำให้เกิดทารกผิดรูปได้
ยาผงกล้วย
ไม่ควรใช้ในคนที่ท้องผูก
ทานติดต่อกันนานๆอาจทำให้ท้องอืด
สมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษากระดูกและกล้ามเนื้อ
เถาวัลย์เปรียง
สหัศธารา
ยาหม่องไพล
น้ำมันไพล
ครีมไพร
พริก
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับพยาธิ
ฟักทอง
มะเกลือ
ฆ่าพยาธิตัวตืด
พยาธิไส้เดือน
ฆ่าพยาธิปากขอ
ไม่ควรใช้กับเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี,สตรีตั้งครรภ์หรือหลังคลอดใหม่ๆ,ผู้ป่วยมีไข้,ผู้ป่วยโรคอื่นๆ
ข้อควรระวังในการใช้
ควรใช้ผลมะเกลือสดสีเขียวเพราะผลแก่สีดำจะมีพิษ
เมื่อนำผลสดมาคั้นน้ำแล้วให้รับประทานโดยทันที
ห้ามปั่นกับน้ำปูนในเพราะจะทำให้สารสำคัญสลายได้
อย่าใช้มะเกลือมากเกินไปเพราะอาจมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องเสีย
วิงเวียน
ปวดท้อง ปวดศีรษะ
หากมีอาการตามัวให้รีบพบแพทย์ทันที
มะขาม
เล็บมือนาง
มะหาด
สะแก
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับลม
ขมิ้นชัน
ขิง
เบญจกูล
ธาตุอบเชย
พืชที่มีพิษ
ความเป็นพิษของพืช จะขึ้นกับปริมาณพืชที่รับประทานเข้าไป และความทนทานต่อสารพิษของแต่ละบุคคล โอกาสที่จะเกิดพิษในเด็กจะมีมากกว่าในผู้ใหญ
ในประเทศไทยได้มีการบันทึกถึงความเป็นพิษจากพืชชนิดต่าง ๆ เช่น พิษจากการรับประทานเมล็ดทองหลางฝรั่งหรือโพศรีเด็กที่รับประทานเข้าไปจะมีอาการแสบร้อนในคอกระหายน้ำ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ถ่ายเหลว และตาแดง
การรับประทานเหง้าดองดึง ทำให้อุจจาระร่วงและอาเจียนรุนแรงจนอาจทำให้เสียชีวิตได้
การจำแนกกลุ่มของพืชพิษ
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มย่อยดังนี้
1.1 กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุปากและลำคอพืชเหล่านี้มักจะมีผลึกของแคลเซียมออกซาเลทอยู่ภายในเซลล์ในสภาพเป็นกลุ่มที่เรียกว่า raphidesซึ่งเมื่อถูกน้ำผลึกนี้จะแตกออกทำให้ปวดแสบปวดร้อนภายใปาก
1.2 กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุผนังกระเพาะอาหารพืชพวกนี้เมื่อกินเข้าไป จะทำให้เกิดการอาเจียนและท้องเสียเล็กน้อย เพราะว่าพืชเหล่านี้มีสารพิษที่เป็นแอลคาลอยด์ชื่อ lycorine, crinamine, lycoramine ซึ่งมีผลไปกระตุ้นศูนย์การอาเจียนที่สมองทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน และท้องเสีย
1.3 กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้ชกลุ่มนี้ถ้ากินเข้าไป จะไม่มีอาการคันคอ แต่จะท าให้เกิดอาการปวดท้อง อาเจียน ท้องเสีย หลังจาก
รับประทานเข้าไปภายใน 1 ชั่วโมง สารพิษที่พบในพืชกลุ่มนี้ได้แก่
โปรโทอะนีโมนีน เรซิน ซาโปนิน และสารอื่น ๆ
1.4 กลุ่มที่มีผลท าให้กระเพาะและลำพืชพิษกลุ่มนี้เมื่อรับประทานเข้าไประยะเวลาหนึ่งจึงจะท าให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดิน
อาหาร พืชบางชนิดอาจใช้เวลา 1 - 2 ชั่วโมงไส้อักเสบอย่างช้า ๆ พืชพิษกลุ่มนี้แบ่งออกได้ 4 กลุ่มย่อย
กลุ่มที่มีสารเลคติน
กลุ่มที่มีสารสเตียรอยด์แอคคาลอยด
กลุ่มที่มีสารออกซาเลท หรือกรดออกซาลิก
กลุ่มที่มีสารโคลชิซีน
พืชที่มีผลต่อระบบเลือดและหัวใจ พืชพิษกลุ่ม
นี้แบ่งออกได้2 กลุ่ม ดังนี้
2.1 พืชที่มีสารกลุ่มคาร์ดิแอคกลัยโคไซด์พืชกลุ่มนี้จะมีพิษเมื่อรับประทานเกินขนาด ส่วนใหญ่จะเกิดพิษกับเด็กเนื่องจากการรับประทานผลหรือดอกของพืชพิษเหล่านี้ ซึ่งมักจะมีสีสวย จะท าให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุปากและกระเพาะอาหารเกิดอาการอาเจียน ท้องเดิน ปวดศีรษะ และปวดท้อง หลังจากสารพิษถูกดูดซึมเข้าเส้นเลือดจะไปกระตุ้น
หัวใจ ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้นและเต้นผิดปกติ อาการดังกล่าวอาจอยู่ได้นานถึง 2 - 3 อาทิตย์
2.2 พืชที่มีสารไซยาโนจินิคกลัยโคไซด์พืชที่มีสารไซยาโนจินิคกลัยโคไซด์ เมื่อรับประทานเข้าไปจะถูกเอนไซม์ Hydrolyses ได้สารไซยาไนด์
(cyanide) ซึ่งสารนี้จะเข้าไปแทนที่ออกซิเจนในเลือดท าให้ร่างกายขาดออกซิเจน เกิดอาการหน้าเขียวคลื่นไส้ อาเจียน เดินโซเซ ควบคุมกล้ามเนื้อไม่ได้หายใจล าบาก กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย กล้ามเนื้อกระตุก มึน งง ไม่รู้สึกตัว ชัก ก่อนที่จะหมดสติ
พืชที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ดื่มไข่ขาวเพื่อทำให้อาเจียน หรือกินยาเม็ดถ่านเพื่อดูดซับพิษ แล้วส่งโรงพยาบาลในทันทีืชท่ีมีฤทธิ์ต่อระบบประสาทสว่ นกลางแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
3.1 กล่มุ ท่ีมีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง (CNS depressants) พ
3.2 กล่มุที่มีฤทธิ์ทำให้ชัด (convulsants)
3.3 กลุ่มที่มีฤทธิ์ทำใหประสาทหลอน (hallucinogens)
พืชที่ระคายเคืองต่อผิวหนังส่วนใหญ่พืชที่ระคายเคืองต่อผิวหนังมักจะมีหนามหรือขนที่แหลมคม หรือมียางที่เป็นพิษ เมื่อผิวหนัง
สัมผัสถูกพืชพิษเหล่านี้จะมีอาการเจ็บปวด บวม หรืออักเสบ และอาจเกิดการติดเชื้อในเวลาต่อมาสารพิษในกลุ่มนี้จะพบได้ในส่วนใบ เปลือกต้น น้ำยาง ลำต้น ดอก ผล ขน และละอองเกสร ความเป็นพิษ
มากน้อยของพืชกลุ่มนี้ขึ้นอยู่กับบุคคลที่สัมผัส ระยะเวลา และฤดูกาลของพืช พืชในกลุ่มนี้แบ่งออกได้ดังนี้
4.1 พืชที่มีหนามหรือขน และมีสารพิษ พืชในวงศ์ Urticaceae มีขนพิษ ซึ่งภายในขนจะมี protoplasmเวลาที่ผิวหนังสัมผัสกับพืชเหล่านี้ ปลายยอดของขนจะแตกออกและฉีดสารพิษออกมา ทำให้ผิวหนังบวม
แดง แสบคัน และปวด
4.2 พืชที่มียาง ยางที่เป็นพิษมีได้ 2 ลักษณะคือ ยางขาวและยางใส
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะพืชกลุ่มนี้ได้แก่ ลูกเนียง เมื่อกินเข้าไปจะเกิดอาการพิษภายใน 2 - 14 ชั่วโมง เริ่มจากมีอาการปวดตาม ขาหนีบ ปัสสาวะยาก แสบขัด มีอาการปวดเวลาปัสสาวะิธีการลดพิษ โดยการเพาะให้งอก หั่นเป็นชิ้นบาง ๆ ตากแดดเล็กน้อย เพื่อเป็นการลดพิษของลูกเนียง
อันตรกิริยาระหว่างยาสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน
อันตรกิริยา คือ ปฏิกิริยาทางเภสัชวิทยาระหว่างกันของสารทั้งสองชนิดทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงระดับของยาในร่างกายการต้านฤทธิ์ การเสริมฤทธิ์ การเพิ่มหรือลดผลข้างเคียงของยา การเกิดพิษ
เกี่ยวเนื่องกับปฏิกิริยาทางด้านเภสัชวิทยา 2 ประเภท คือ เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics) และเภสัชจลศาสตร์(Pharmacokinetics)
อันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์ (Pharmacodynamic interactions)คือปฏิกิริยาที่มีผลเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ของยาทั้งทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยา แต่ไม่มีผลต่อระดับความเข้มข้นของยาในร่างกาย ทั้งนี้อาจแบ่งอันตรกิริยาประเภทนี้ออกเป็น 2 ประเภท คือ การออกฤทธิ์ต้านกันAntagonist interactions) และการออกฤทธิ์เสริมกัน (Additive or Synergistic interactions)
การออกฤทธิ์เสริมกัน (Synergistic) เช่นยารักษาเบาหวานซึ่งมีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือด หรืออินซูลิน (insulin) หากรับประทานร่วมกับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีผลลดระดับน้ำตาลในเลือด
การออกฤทธิ์ต้านกัน (Antagonist) เช่นผู้ป่วยที่รับประทานยาวาร์ฟาริน จะต้องระมัดระวังการรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มี Vitamin K สูง ซึ่ง Vitamin K เปลี่นตัวกลางที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือดและกลไกการออกฤทธิ์ของยาวาร์ฟารินส่งผลต้านการทำงานของยาวาร์ฟารินได
อันตรกิริยาทางด้านเภสัชจลศาสตร์ (Pharmacokinetic interactions)คือปฏิกิริยาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับยาในร่างกายไปจากปกติ ทั้งในเลือด เนื้อเยื่อ หรือตำแหน่งที่ยาออกฤทธิ์ โดยอันตรกิริยาสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกขั้นตอนของกระบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์ตั้งแต่เริ่มบริหารยาเข้าสู่ร่างกายจนถึงกระบวนการกำจัดออก โดยสามารถแบ่งเปลี่ยนกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้
การดูดซึมยา (Absorption)เปลี่ยนกระบวนการดูดซึมผ่านของยาเข้ากระแสเลือด โดยกระบวนการนี้สมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสามารถเกิดอันตรกิริยาต่อยาได้ ซึ่งจะส่งผลต่อปัจจัยต่าง ๆ ที่รบกวนกระบวนการดูดซึมได้ เช่น
เพิ่มการดูดซึม ยาที่สามารถละลายในไขมันได้ดี Cilostazol, Ketoconazole, Griseofulvin,Isotretinoin, Theophylline SR จะถูกดูดซึมได้ดีขึ้นเมื่อรับประทานร่วมกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อยู่ในรูปไขมัน
ลดการดูดซึม ยาบางชนิดเช่น Lithium, Digoxin อาจถูกรบกวนการดูดซึมยาเข้าสู่กระแสเลือดได้หากรับประทานร่วมกับสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทกากใยสูง
เกิดสารประกอบที่ซับซ้อน (complex) ยาบางชนิดอาจเกิดการจับกับสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในระหว่างการบริหารยา ส่งผลให้เกิดเปลี่ยนสารประกอบที่ซับซ้อน (complex) ทำให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมสารประกอบนั้นได้
เพิ่มการเคลื่อนที่ผ่านทางเดินอาหาร (Increase GI mobility) สมุนไพรที่ออกฤทธิ์เปลี่ยนยาระบายมีผลเพิ่มการบีบตัวของลำไสดังนั้นเมื่อรับประทานร่วมกับยาจะทำให้ยาอยู่ในทางเดินอาหารได้สั้นกว่าปกติ ส่งผลให้
การดูดซึมยาในทางเดินอาหารลดลงได้
เปลี่ยนแปลงระดับ pH
การกระจายยา (Distribution)เปลี่ยนกระบวนการกระจายยาไปยังส่วนต่างๆของร่างกายหลังจากยาเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการไหลเวียนของเลือดและการกระจายยาไปสู่เป้าหมายการออกฤทธิ์นี้อันตรกิริยาจะขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆเช่น
การจับตัวของยา (drug binding; protein binding) ยาที่มีค่า protein binding ที่สูงเมื่อถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดยาจะเข้าจับกับโปรตีน
(อัลบูมิน) ได้ดี ส่งผลให้ยาอยู่ในร่างกายได้นาน แล้วจึง
ค่อย ๆ ปลดปล่อยตัวยาอิสระ (Free drug) ออกมา
การกระจายตัวยาจากเลือดผ่านเนื้อเยื่อ (Permeability across barrier; P-glycoprotein) Pglycoprotein (P-gp) เป็นโปรตีนในร่างกายที่ฝังตัวอยู่บนพื้นผิวของเซลล์ทางเดินอาหารและเนื้อเยื่อต่าง ๆของร่างกาย ทำหน้าที่ในการป้องกันอันตรายหรือขับ (efflux pump) ยา สารพิษ หรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาสู่เซลล์ในร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงยา (Metabolism)คือกระบวนการทางชีวเคมีของร่างกายในการเปลี่ยนแปลงโมเลกุลของยา โดยอาศัยเอนไซม์ในการเปลี่ยนแปลงยา ก่อนจะผ่านกระบวนการขับออกจากร่างกาย โดยส่วนใหญ่กระบวนการนี้จะเกิดขึ้นที่ตับ โดยเอนไซม์หลักที่มักจะเปลี่ยนที่รู้จักในการเกิดอันตรกิริยาของยาคือ Cytochrome P450
Cytochrome P450 (CYP450) เป็นนระบบของเอนไซม์สำคัญ
ของร่างกายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงยาที่เปลี่ยนซับสเตรต (substrate) เป็นจำนวนมาก โดยพบว่ายารวมถึงสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมหรือยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ (enzymatic
inhibition) ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง (metabolism) ยาที่เป็นซับสเรตได้อาหารหลายชนิดมีผลกระตุ้น (enzymatic induction)
การขับยาออกจากร่างกาย (Excretion) คือกระบวนการกำจัดยาออกจากร่างกายผ่านช่องทางต่าง ๆ ซึ่งยาส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางไตในรูป
ของสารที่สามารถละลายน้ำได้ ดังนั้นหากสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมีผลรบกวนกระบวนการขับยาออกจากร่างกายก็จะทำให้
เกิดอันตรกิริยากับยาได้
เช่นการเปลี่ยนแปลง pH ของปัสสาวะซึ่งจะมีผล
เปลี่ยนแปลงการดูดกลับของยาเข้าสู่ร่างกาย
หรือส่งผลต่อการทำงานของไต
ตัวอย่างสมุนไพรที่มีรายงานการเกิดอันตรกิริยากับยาผ่านกลไกของการขับยาออกจากร่างกาย เช่น6ผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม K-sparing diuretic เช่น Spironolactoneเมื่อรับประทานร่วมกับยาสมุนไพร
ในกลุ่มยาขับปัสสาวจะมีผลทำให้ระดับของโพแทสเซียมในร่างกาย
เพิ่มสูงขึ้น และอาจก่อให้เกิดพิษได้เมื่อมีการใช้ร่วมกัน
แนวทางการป้องกันอันตรกิริยาของสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกับยาแผนปัจจุบัน
Medical herbal and dietary supplement reconciliation
จะทำให้ทราบถึงยา สมุนไพร และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทั้งหมดที่ผู้ป่วยได้รับ พร้อมทั้งทราบถึงส่วนประกอบทั้งหมดของผลิตภัณฑ
การทราบถึงชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญชื่อท้องถิ่น หรือชื่อพ้องของสมุนไพร และส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแต่ละชนิดจะทำให้สื่อสารกับผู้ป่วยหรือผู้บริโภคได้ดีขึ้น
อันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบางชนิดสามารถป้องกันได้โดยเฉพาะอันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์ (Pharmacodynamic interactions) โดยการทราบถึงกลไกการออกฤทธิ์ และฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
การสอบถามถึงอาการไม่พึงประสงค์จากอันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมที่อาจจะเกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ดูแลเปลี่ยนประจำจะทำให้ทราบถึงปัญหาอย่างทันท่วงที
การจัดทำฐานข้อมูลอันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริม โดยยึดตามเอกสารอ้างอิงจากรายงานทางวิชาการที่น่าเชื่อถือ มีข้อมูลการรายงานในมนุษย์ โดยเฉพาะสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีการเลือกใช้บ่อยในผู้ป่วยกลุ่มโรคต่าง ๆ
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สมุนไพรแก้ไข และขับปัสสาวะ
แก้ไข้
จันทรลีลา
ขับปัสสาวะ
กระเจี๊ยบแดง
สับปะรด
อ้อยแดง
ขลู่
หญ้าคา
ตระไคร้
หญ้านวดแมว
สมุนไพรที่ใช้แต่งสี
การปรุงรสและตกแต่งอาหารอย่างเหมาะสม ทำให้อาหารที่ได้มีลักษณะและรสชาติที่ชวนรับประทาน อาหารไทยทั้งคาวและหวานนิยมปรุงแต่งสีให้ดูสวยงาม
สีผสมอาหารจากธรรมชาติ
พืช ผัก ผลไม้ หรือแม้กระทั่งดอกไม้หลายชนิดสามารถเตรียมออกมาเป็นสีจากธรรมชาติได้ง่าย ๆเพื่อเป็นทางเลือกในการเพิ่มสีสันให้อาหารและขนมต่าง ๆออกมาสวยงามน่ารับประทาน แถมบางชนิดยังมีกลิ่นหอมเฉพาะตัวไม่เหมือนใคร
สีเขียว
ใบเตยหอม ให้สีเขียว
การเตรียม: หั่นขวางใบให้เป็นฝอย โขลกพอแหลก เติมน้ำเล็กน้อยแล้วคันกรองด้วยผ้าขาวบาง
อาหารที่ใช้:ขนมชัน ซ่าหริ่ม ขนมเปียกปูน ฯลฯ
สีแดง
กระเจี๊ยบแดง ให้สีแดง
การเตรียม: ใช้ส่วนกลีบเลี้ยงที่หุ้มฝัก แกะฝักทิ้ง แล้วต้มให้เดือด
อาหารที่ใช้: น้ำกระเจี๊ยบ ฯลฯ
ฝาง ให้สีชมพูอ่อน
ข้าวแดง ให้สีแดงคล้ำ
อาหารที่ใช้: น้ำยาอุทัย ขนมชั น ขนมขี้หนู ข้าวเหนียวแก้ว ฯลฯ
การเตรียม: ใช้ส่วนที่เป็นแก่น ต้มกับน้ำ
อาหารที่ใช้: หมูแดง เต้าหู้ยี้ ปลาจ่อม ขนมต่าง ๆ ฯลฯ
การเตรียม: น้ำเมล็ดข้าวมาบดละเอียด
หัวบีทรูท ให้สีแดงทับทิม
การเตรียม: ล้างให้สะอาดแล้วปอกเปลือก ฝานเป็นแว่นบาง ๆ สับหรือโขลกให้ละเอียด ตักใส่ผ้าขาวบางคั้นเอาแต่น้ำ
อาหารที่ใช้:ขนมบัวลอย ขนมชั ้น ซ่าหริ่ม มะพร้าวแก้ว หรืออาหารที่ท าให้สุกด้วยการนึ่ง กวน หรือต้ม ฯลฯ
สีน้ำตาล
โกโก้ให้สีน้ำตาล
การเตรียม: น าเมล็ดโกโก้มาคั่ว เอาเปลือกหุ้มเมล็ดออก บดละเอียด บีบนน้ำมันออก เนื้อโกโก้จะเกาะกันเป็นแท่ง ๆนำมาบดให้แตกเป็นผงอีกครังใส่รวมกับแป้ง หรือใช้โกโก้ผงที่ชงเครื่องดื่มน้ำมาผสมกับแป้งทำขนม
อาหารที่ใช้:ขนมเค้ก คุกกี ้ ขนมสัมปันนี ฯลฯ
สีเหลือง
ดอกกรรณิกา ให้สีเหลืองทอง
การเตรียม: เด็ดเอาแต่เฉพาะหลอดดอก ใส่ผ้าขาวบาง หยดน้ำใส่นิดหน่อย แล้วคั้นเอาแต่น้ำ
อาหารที่ใช้:อาหารที่ต้องการสีเหลืองทอง เช่น มะพร้าวแก้ว ขนมเรไร วุ้น ฯลฯ
ขมิ้น ให้สีเหลือง
การเตรียม: ปอกเปลือกออกให้หมด โขลกให้ละเอียด เติมน้ำนิดหน่อย เทใส่ผ้าขาวบาง คั้นเอาแต่น้ำ
อาหารที่ใช้:ข้าวเหนียวมูน ขนมเบื ้อง ข้าวหมก แกงกะหรี่ แกงเหลือง ฯลฯ
ดอกคำฝอย ให้สีเหลืองส้ม
การเตรียม: แกะเอาแต่กลีบดอก ตากให้แห้ง เมื่อเวลาจะใช้ใส่น้ำพอท่วม แล้วต้มให้เดือด นานประมาณ 5นาที กรองเอากากทิ้ง ใช้แต่น้ำ
อาหารที่ใช้:อาหารที่ต้องการสีเหลือง เช่น ขนมน ้าดอกไม้ มะพร้าวแก้ว ขนมถ้วยฟู ฯลฯ
สีส้ม
ส้มเขียวหวาน ให้สีเหลืองส้ม
การเตรียม: ล้างส้มให้สะอาด ผ่าครึ่งซีก คั้นเอาแต่น้ำ
อาหารที่ใช้:ขนมเค้ก ขนมปัง ซอสส้ม ฯลฯ
แครอท ให้สีส้ม
การเตรียม: ล้างแครอทให้สะอาด ใส่ลงในเครื่องปั่น ปั่นจนละเอียด กรองด้วยผ้าขาวบาง คั้นเอาเฉพาะน้ำ
สีม่วง
ดอกอัญชัน ให้สีน้ำเงิน หรือสีม่วงถ้าเติมน้ำมะนาว
การเตรียม: เด็ดส่วนโคนที่เป็นสีเขียวออก ใช้เฉพาะส่วนสีน้ำเงิน ใส่ถ้วย เติมน้ำนิดหน่อย แล้วบีบให้ช้ำ เทใส่ผ้าขาวบาง คั้นเอาแต่น้ำ
อาหารที่ใช้:ช่อม่วง ขนมชั น ซ่าหริ่ม ขนมน้ำดอกไม้ ขนมเค้ก ขนมเรไร ข้าวมันกะทิสีดอกอัญชัน บัวลอย
สีดำ
ถั่วดำ ให้สีดำ
การเตรียม: นำถั่วดำมาต้มจนได้น้ำสีดำอกมา กรองเอากากออก