Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย, ๑.เป็นคำที่เป็นคำสองพยางค์ - Coggle Diagram
คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ภาษาจีน🇨🇳ุึ
การสังเกตคำ
เป็นคำที่มีเสียงวรรณยุกต์ตรีและจัตวา ซึ่งพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง
เป็นคำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น(เอียะ) (อั๊วะ) โดยเฉพาะคำเลียนเสียงเช่น(เหมือน)
เดี๊ยะ(ขาว)จั๊วะ
เป็นคำที่มีพยัญชนะต้นเป็น
อักษรกลาง(ก จ ต บ ป อ)เช่น ปุ๋ย อั๊ว
ตัวอย่างคำที่ยืมมา
กุยช่าย(กู๋ฉ่าย)
เจ๊(เจ้)
แป๊ะก๊วย(แปะก้วย)
ภาษาบาลี - สันสกฤต
หลักสังเกต😉
บาลี
สระมี 8 ตัว ( อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ )
สันสกฤต
สระมี 14 ตัว เพิ่มจากบาลีอีก6ตัว คือ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
พยัญชนะ 33 ตัว
ฬ ใช้ได้เฉพาะภาษาบาลี
ไม่ใช้ รร ( รอหัน )
ไม่ใช้อักษรควบ เช่น ปชา สามี
มีตัวสะกดแล้วต้องมีตัวตามเสมอ เช่น รุกข
มีพยัญชนะ 35 ตัว เพิ่มจากบาลีอีก 2 ตัว คือ ศ ษ
ฑ ฒ ใช้ได้เฉพาะสันสกฤต
ใช้ รร ( รอหัน )
ใช้อักษรควบ เช่น ประชา สวามี
ใช้ตัว ส นำหน้าวรรคตะ เช่น สถาน สตรี
ใช้ตัว ณ ตามหลัง ฤ ร ษ เช่น กฤษณา ลักษณ์
มักใช้ตัวสะกดแม่กน เป็น ร เช่น อาจารย์
คำว่า เคราะห์ มาจากสันสกฤต เช่น สงเคราะห์
มักมีคำว่า ริ เช่น ภริยา
หลักตัวสะกด ตัวตาม
ก. พยัญชนะตัวที่ 1 , 3 , 5 เป็นตัวสะกดได้เท่านั้น (ต้องอยู่ในวรรคเดียวกัน)
ข. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 1 สะกด ตัวที่ 1 หรือตัวที่ 2 เป็นตัวตามได้ เช่น สักกะ ทุกข สัจจ
ปัจฉิม สัตต หัตถ บุปผา เป็นต้น
ค. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 3 สะกด ตัวที่ 3 หรือ 4 เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน เช่น
อัคคี พยัคฆ์ วิชชา อัชฌา พุทธ คพภ (ครรภ์)
ง. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 5 สะกด ทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ เช่น องค์ สังข์ องค์ สงฆ์
สัมปทาน สัมผัส สัมพันธ์ สมภาร เป็นต้น
เศษวรรค บวก เศษวรรค
ณ นำหน้าวรรคฏะ เช่น มณฑล
มักมีคำว่า ปฏิ- นำหน้าวรรค เช่น ปฏิบัติ
ภาษาเขมร
มักเป็นคำโดด
เดิน
เกิด
มีลักษณะการสะกดไม่ตรงกับภาษาไทย
เพราะ
ภาษาเขมรมีหน่วยเสียงตัวสะกดตามภาษาไทย
เสร็จ
สมเด็จ
ไม่มีรูปวรรณยุกต์
ราบ
ควร
เป็นคำแผลง
บำเพ็ญ
สำเร็จ
มักจะนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์
ถวาย
เขนย
ภาษาชวา-มลายู
การสังเกตคำที่ยิมมาจากภาษาชวา-มลายู
๒.ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกลํ้า
๓.ไม่มีรูปวรรณยุกต์
การใข้คำที่ยืมมาจากภาษาชวา-มลายูในภาษาไทย
คำที่ยืมมาจากภาษาชวา-มลายูที่ปรากฏใช้ในภาษาไทยส่วนใหญ่เป็นคำที่เรียกชื่อพืช สัวต์ สิ่งของ สถานที่ ศิลปวัฒนธรรม และ คำกริยาบางคำ
ภาษาอังกฤษ🇬🇧
การสังเกตคำ
เป็นคำหลายพยางค์ ทำให้เมื่อนำมาใช้จะทำให้มีหลายหยางค์เพิ่มขึ้น เช่นคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
ไม่มีการเปลี่ยนรูปไวยากรณ์ ดังนั้นคำที่ยืมจะ
ไม่คำนึงถึงชนิดและหน้าที่ของคำ
มีเสียงพยัญชนะที่ไม่มีในระบบเสียงในไทย
คือ [บล] [บร] [ฟร] [ฟล] [ทร] [ดร]
ตัวอย่างคำ
สลัด(salad)
ชีส(cheese) 🧀
มลพิษ(pollution)
สมาชิกในกลุ่ม
1) กิรณา เผชิญบารมี ม. 3 / 2 เลขที่ 2
2)ธัญชญา เงินกอง ม. 3 / 2 เลขที่ 7
3)นันท์นภัส เธียรธนเกียรติ ม. 3 / 2 เลขที่ 8
4) สหพล พรหมศร ม. 3 / 2 เลขที่ 16
๑.เป็นคำที่เป็นคำสองพยางค์