Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบ ที่สําคัญของพืชสมุนไพร :sunflower: :wilted…
ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบ
ที่สําคัญของพืชสมุนไพร
:sunflower: :wilted_flower:
อัตรกิริยาของยาสมุนไพร
:warning:
อัตรกิริยา
คือปฏิกิริยาทางเภสัชวิทยาระหว่างกันของสารทั้งสองชนิด ทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงระดับยาในร่างกายการต้านฤทธิ์ การเสริมฤทธิ์ การเพิ่มหรือลดผลข้างเคียงของยา การเกิดพิษ หรืออาจทำให้เกิดฤทธิ์ใหม่
ประเภทของอันตรกิริยา
อันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์
คือ ปฏิกิริยาที่มีผลเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ของยาทั้งทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยา แต่ไม่มีผลต่อระดับความเข้มข้นของยาในร่างกาย
แบ่งเป็น
การออกฤทธิ์เสริมกัน
เช่น ยารักษาเบาหวานที่มีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือดหากรับประทานร่วมกับสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือดจะออกฤทธิ์เสริมกัน
การออกฤทธิ์ต้านกัน
การทราบถึงสรรพคุณของสมุนไพรจะช่วยป้องกันการเกิดการออกฤทธิ์ต้านกันของยาแผนปัจจุบันและยาสมุนไพรได้
อันตรกิริยาทางด้านเภสัชจลศาสตร์
คือ ปฏิกิริยาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับยาในร่างกายไปจากปกติ
แบ่งเป็นกระบวนการต่างๆ
การดูดซึมยา
เป็นกระบวนการดูดซึมผ่านของยาเข้ากระแสเลือด โดยกระบวนการนี้
สมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสามารถเกิดอันตรกิริยาต่อยาได้
การกระจายยา
เป็นกระบวนการกระจายยาไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายหลังจากยา
เข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการไหลเวียนของเลือด
การเปลี่ยนแปลงยา
คือกระบวนการทางชีวเคมีของร่างกายในการเปลี่ยนแปลง
โมเลกุลของยา โดยอาศัยเอนไซม์ในการเปลี่ยนแปลงยา
การขับยาออกจากร่างกาย
คือกระบวนการกำจัดยาออกจากร่างกายผ่านช่องทางต่าง ๆ ซึ่งยา
ส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางไตในรูปของสารที่สามารถละลายน้ำได้
แนวทางการป้องกันอันตรกิริยาของสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกับยาแผนปัจจุบัน
Medical herbal and dietary supplement reconciliation จะทำให้ทราบถึงยา
สมุนไพร และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทั้งหมดที่ผู้ป่วยได้รับ
การทราบถึงชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญชื่อท้องถิ่น หรือชื่อพ้องของสมุนไพร และส่วนประกอบของ
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแต่ละชนิดจะทำให้สื่อสารกับผู้ป่วยหรือผู้บริโภคได้ดีขึ้น
อันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบางชนิด
สามารถป้องกันได้โดยเฉพาะอันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร
การสอบถามถึงอาการไม่พึงประสงค์จากอันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์
เสริมที่อาจจะเกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ดูแลเป็นประจำจะทำให้ทราบถึงปัญหาอย่างทันท่วงที
การจัดทำฐานข้อมูลอันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริม
โดยยึดตามเอกสารอ้างอิงจากรายงานทางวิชาการที่น่าเชื่อถือ
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล พยายามสั่งใช้ยาเฉพาะที่จำเป็นกับผู้ป่วย
สมุนไพรที่ใช้แต่งสี
:star:
สีเขียว
ใบเตยหอม
สีแดง
กระเจี๊ยบแดง
ฝาง
ข้าวแดง
หัวบีทรูท
ข้าวแดง
ครั่ง
สีน้ำตาล
โกโก้
สีเหลือง
ดอกกรรณิกา
ดอกคำฝอย
คำแสด
ขมิ้น
ลูกตาล
ฟักทอง
หญ้าฝรั่น หรือ แซฟฟรอน
สีส้ม
ส้มเขียวหวาน
แครอท
สีม่วง
ข้าวเหนียวดำ
ผักปลัง
ดอกอัญชัน
สีดำ
กาบมะพร้าว
ถั่วดำ
สมุนไพรไล่แมลงและสัตว์รังควาน
:no_entry:
สมุนไพรไล่ยุง
ได้แก่ กะเพรา ขมิ้น ตะไคร้หอม มะกรูด ไพรีทรัม
สมุนไพรไล่มอด
ได้แก่ กระเพรา กระวาน กานพลู พริกไทยดำ พริกแห้ง ใบมะกรูด
สมุนไพรไล่มด
ได้แก่ หน่อไม้ดอง พริกป่น ขมิ้น พริกสดและผิวมะกรูด
สมุนไพรไล่ปลวก
ได้แก่ ข่า ตะไคร้ กระเทียม ใบขี้เหล็ก น้ำส้มสายชู เกลือ
สมุนไพรไล่แมงมุม
ได้แก่ ส้ม เปปเปอร์มินต์ เกลือ เกาลัด
สมุนไพรไล่แมลงสาบ
ได้แก่ ใบกระวานแห้ง กานพลู พริกไทย
สมุนไพรไล่แมลงวัน
ได้แก่ เปลือกส้ม น้ำส้มสายชู กระเทียม
ผักกลิ่นฉุน ตะไคร้หอม
สมุนไพรไล่แมลงหวี่่
ได้แก่ กาบมะพร้าว กับ เครือกระทกรก ใบหางนกยูง ดอกดาวเรือง ตะไคร้
สมุนไพรไล่ตั๊กแตน
ได้แก่หน่อยหน่า สะเดา เลี่ยน
สมุนไพรไล่เพลี้ยแป้ง
ได้แก่ น้ำยาล้างจาน พริกสด
สมุนไพรไล่เพลี้ยอ่อน
ได้แก่ หางไหลแดง ยาสูบ สะเดา สาบเสือ
สมุนไพรฆ่าเหา
ได้แก่ ยูคาลิปตัส หนอนตายอยาก หน่อยหน่า ผักเสี้ยน
สมุนไพรไล่เห็บหมัด
ได้แก่ มะคำดีควาย มะขาม หน่อยหน่า สะเดา ไพล เมล็ดมันแกว
สมุนไพรไล่หนู
ได้แก่ ใบพลู ข่า กระเทียม น้ำมันสะระแหน่ น้ำมันระกำ มะกรูด
การใช้กัญชาทางการแพทย์ :green_cross:
เภสัชพฤกษศาสตร์ของกัญชา
กัญชาเป็นพืชในวงศ์ Cannabidaceae มี 3 สายพันธุ์ที่พบบ่อยคือ
Cannabis sativa, Cannabisindicaและ Cannabis rudealis s สำหรับ
สายพันธุ์ที่พบมากในประเทศไทยจะเป็นสายพันธุ์Cannabis
sativa ซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดีในลักษณะอากาศแบบร้อนชื้น
เภสัชวิทยาของกัญชา
เกี่ยวข้องกับการสะสมและการกระจายพลังงานของร่างกาย ทำให้เซลล์ตาย ตอบสนองต่อการเจ็บปวด ความเครียดและอื่นๆ
ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์
ที่ได้ประโยชน์
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบำบัด
โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
ภาวะปวดประสาท
การเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักตัวน้อย
ตำรับแผนไทยที่มีกัญชา
ยาน้ำมันสนั่นไตรภพ
ยาอัคคินีวคณะ
ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง
ยาขุนไสยาศน์
ยาไฟอาวุธ
ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย
ยาสัณธฆาต กล่อนแห้ง
ยาแก้นอนไม่หลับ
ยาแก้โรคจิต
ยาอัมฤตโอสถ
ยาไพสาลี
ยาทำลายพระสุเมรุ
ยาแก้ลมแก้เส้น
ยาทัพยาธิคุณ
ยาริดสีดวงทวารหนักและยาโรคผิวหนัง
ขนาดยาและการบริหารยา
ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาแต่ละชนิด ขนาดยาที่
เหมาะสมขึ้นกับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละคนและปรับตามแต่ละผลิตภัณฑ์
ผู้ที่เริ่มต้นรักษา และได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นครั้งแรกควรเริ่มต้นที่ขนาด
ต่ำมาก ๆ หากเกิดผลข้างเคียงและควร ลดขนาดยา หรือหยุดการใช้ทันที
ทำไมต้องควบคุมการใช้กัญชาทางการแพทย์
Quality: ถูกต้น, ถูกสายพันธุ์, ถูกส่วน, GAP, วิธีการสกัด,
ปริมาณและสัดส่วนของสารสำคัญ
Safety: วิธีการสกัด การปนเปื้อน (สารหนู ยาฆ่าแมลง
ยาฆ่าหญ้า เชื้อรา ฯลฯ)ข้อห้ามใช้ ยาอื่นที่ใช้ร่วม
Efficacy: ถูกคน ถูกขนาด (ความเข้มข้น) ถูกวิถีทาง ถูกโรค ถูกเวลา
สมุนไพรเพื่อความงาม
:<3:
คือ
สิ่งปรุง รวมทั้งเครื่องหอม และสำรหอมต่ำง ๆ ที่ใช้บนผิวหนัง หรือส่วนใดส่วน
หนึ่งของร่ำงกำยมนุษย์ ที่มุ่งหมายสำหรับทำความสะอาด ป้องกัน แต่งเสริม เพื่อความงาม
สมุนไพรกับการใช้ในเวชสำอาง
Anti-acne
สมุนไพรรักษาสิว ได้แก่ ไพล ชาเขียว สารสกัดเปลืกมังคุด สารสกัดผสมตำรับยาเบญจโลกวิเชียร น้ำมันหอมรเหยใบมะกรูด
Anti-aging
สมุนไพรป้องกัน ลดริ้วรอย กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน เพิ่มความชุ่มชื้น ลดความหย่อนคล้อย ได้แก่ขมิ้น สารสกัดรำข้าว แตงกวา บัวบก มะขามป้อม ว่านหางจระเข้
Anti-pollution
เครื่องสำอางป้องกันมลพิษจากแสงแดด ฝุ่นควัน ท่อไอเสีย ได้แก่ มะหาด
Hair cosmetic
สมุนไพรรักษาผม ลดการหลุดร่วงของเส้นผม ลดการเกิดผมหงอก เพิ่มความแข็งแรงให้กับเส้นผม ได้แก่ มะนาว ดอกอัญชัน ขมิ้น ว่านมหาเมฆ
Nutricosmetic
อาหารกับผิวสวย ได้แก่ ถั่วเหลือง ผักหรือผลไม้ที่มีสีแดง ผักใบเขียว ถั่วเมล็ดและกรดไขมัน
พืชมีพิษ :forbidden:
คือพืชที่รับประทานเข้าไปแล้วทำให้เกิดอันตรายตาอร่างกาย
การจำแนกกลุ่มของพืชพิษ
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุปากและลำคอ ได้แก่ กระดาด บุก บอนสี เผือก พลูฉีก สาวน้อยประแป้ง อ้ายใบ
กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร
ได้แก่พืชในตระกูลพับพลึงและ Narcissus
กลุ่มที่มีผลต่อการระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้ ได้แก่ พืซที่มีสารพิษซาโปนิน เช่นเทียนหยด มันแกว เป็นต้น
กลุ่มที่มีผลทำให้กะเพาะและลำไส้อักเสบอย่างช้าๆ ได้แก่สบู่ดำ ละหุ่ง เป็นต้น
พืชที่มีพิษต่อหลอดเลือดและระบบทางเดินหายใจ
พืชที่มีสารกลุ่มคาร์ดิแอคกลัยโคไซด์
ส่วนใหญ่เกิดพิษกับเด็กผลและดอกมักมีสีสวย เช่น ยี่โถ รำเพย ชวนชม เป็นต้น
พืชที่มีสารไซยาโนจินิคกลัยโคไซด์
เมื่อรับประทานทำให้ร่างกายขาดออกซิเจน เกิดการหน้าเขียว คลื่นไส้ อาเจียน เช่น มันสำปะหลัง เป็นต้น
พืชที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
กลุ่มที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง
กลุ่มที่มีฤทธิ์ทำให้ชัก ได้แก่ ผลเลี่ยน เมล็ดแสลงใจ เป็นต้น
กลุ่มที่มีฤทธิ์ทำให้ประสาทหลอน ได้แก่ ลำโพง กลอย เป็นต้น
พืชที่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
พืชที่มีหนามหรือขน และมีสารพิษพืชเหล่านี้ได้แก่ หมามุ่ย กะลังตังช้าง เป็นต้น
พืชที่มียาง ได้แก่ ส้มเช้า พยาไร้ใบ เป็นต้น
พืชที่มีเอนไซม์ ได้แก่สับปะรด
พืชที่มี calcium oxalates เช่น กระดาดบุก บอน เผือก เป็นต้น
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
พืชในกลุ่มนี้ได้แก่ ลูกเนียง
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะ :rolling_on_the_floor_laughing:
ขิง
เหง้าแก่ฝนกับน้ำมะนาว หรือเหง้าสดตำผสมน้ำต้มสุกเล็กน้อย คั้นเอาน้ำผสมเกลือ กวาดคอ หรือจิบบ่อยๆ
ดีปลี
ผลแก้แห้งฝนกับน้ำมะนาวแทรกหรือกวาดคอ
หรือจิบบ่อยๆ ไม่ควรใช้กับคนท้อง
เพกา
เมล็ดใส่น้ำ ต้มไฟอ่อนๆ
มะนาว
ผลสดคั้นน้ำใส่เกลือเล็กน้อยจิบบ่อยๆ
มะขาม
เนื้อในฝักแก่หรือมะขามเปียกจิ้มเกลือกิน
มะขามป้อม
เนื้อผลแก่สดโขลกพอละเอียด
แทรกเกลือเล็กน้อยอมหรือเคี้ยว
มะแว้งเครือ
ผลแก่สดโขลกพอละเอียด
คั้นเอาแต่น้ำผสมเกลือเล็กน้อย
มะแว้งต้น
ผลแก่สดโขลกพอแหลก คั้นเอาแต่น้ำใส่เกลือเล็กน้อย
คั้นเอาแต่น้ำใส่เกลือเล็กน้อย
สมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษากระดูกและกล้ามเนื้อ :green_cross:
เถาวัลย์เปรียง
รักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ
ใช้ทดแทนกลุ่มยา NSIADs เช่น Dicofenac
สหัศธารา
รักษาอาการปวดตึงกล้ามเนื้อ
ใช้ทดแทนยา tolperisone
ใช้ทดแทนกลุ่มยา NSIADs เช่น Dicofenac
ยาหม่องไพล
รักษาอาการปวดเมื่อย
ใช้แทน Analgesic balm
น้ำมันไพล
รักษาอาการปวดเมื่อย
ใช้แทน Analgesic balm
ครีมไพล
รักษาอาการปวดเมื่อย
ใช้แทน Analgesic balm
พริก
รักษาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ
ใช้แทน Diclofenac gel
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับลม
:warning:
ขมิ้นชัน
บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ใช้แทน Simethicone mixt carminative
ขิง
บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่น ขับลม จุกเสียด
ใช้แทน Simethicone mixt carminative
เบญจกูล
บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย
ใช้แทน Simethicone mixt carminative Diasgest
ธาตุอบเชย
บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด แน่นท้อง
ใช้แทน mixt carminative
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไข้และขับปัสสาวะ :red_flag:
ยาแก้ไข้
จันทร์ลีลา
บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู
ใช้แทน paracetamol
ยาขับปัสสาวะ
กระเจี๊ยบแดง
กลีบหรือริ้วประดับตากแห้ง บดเป็นผง ชงกับน้ำเดือด
สับประรด
เหง้าสด ต้มน้ำดื่ม
อ้อยแดง
ลำต้นสดสับเป็นชิ้นเล็กๆ ต้มน้ำดื่ม
ขลู่
หั่นเป็นชิ้น ต้มกับน้ำดื่มครั้งละถ้วยชา ใช้มากอาจเป็นตระคริว
หญ้าคา
รากสด สับเป็นชิ้นเล็กๆ ต้มน้ำดื่ม
ตะไคร้
ต้นสดหั่นซอยเป็นแว่นบาง ต้มน้ำดื่ม
หญ้าหนวดแมว
ใบแห้งต้มน้ำดื่ม
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย
:check:
ฝรั่ง
ใบแก่ปิ้งไฟชงน้ำดื่ม หรือผลอ่อนฝนกับน้ำปูนใส ทานเมื่อมีอาการ
ทับทิม
เปลือกผลแห้ง ฝนหรือต้มกับน้ำปูนใสดื่ม
กล้วยน้ำว้า
ผลห่ามหรือดิบตากแดดหรืออบ บดเป็นผงชงน้ำดื่ม
มังคุด
เปลือกผลแห้งย่างไฟให้เกรียม ฝนกับน้ำปูนใส
หรือบดเป็นผงละลายน้ำข้าวหรือน้ำสุก
ฟ้าทลายโจร
ใบสดต้มเอาน้ำดื่ม
สีเสียดเหนือ
ก้อนบดผง ต้มเอาน้ำดื่ม
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับพยาธิ
:check:
ฟักทอง
เมลบ็ดทุบให้แตกผสมน้ำตาล และนมหรือน้ำหลังให้ยา 2 ชั่วโมงทานน้ำมะนละหุ่งระบายตาม
มะขาม
เมล็ดแก้คั่ว กะเทาะเปลือกออก แช่น้ำเกลือจนนุ่ม
มะเกลือ
ผลสดโขลกพอแหลกผสมกะทิคั้นเอาแต่น้ำดื่มทันที
3 ชัวโมงผ่านไปไม่ถ่ายใช้น้ำผสมเกลือดื่มช่วย
เล็บมือนาง
เมล็ดทุบพอแตก ต้มเอาน้ำดื่ม หรือหั่นทอดกับไข่กิน
มะหาด
ผงปวกหาดบดละเอียด ผสมในน้ำสุกเย็น หลังให้อาหาร
2 ชั่วโมง ใช้น้ำผสมดีเกลือช่วยขับถ่ายตาม
สะแก
เมล็ดแก่ตำให้ละเอียดทอดกับไข่กิน