Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน
Upper respiratory infection (URI)
โพรงจมูกอักเสบเฉียบพลัน (acute sinusitis)
คออักเสบเฉียบพลัน (acute pharyngitis)
(acute otitis media)
(acute tonsillitis)
โรคหวัด (common cold หรือ acute nasopharyngitis)
โรคระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง
(Acute
laryngotracheobronchitis viral croup)
หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (acute bronchitis)
หลอดลมฝอยอักเสบเฉียบพลัน (acute bronchiolitis)
โรคปอดบวมเฉียบพลัน (acute pneumonia)
ประเมินอาการเเละอาการเเสดง
กระสับกระส่าย (restlessness) ---> hypoxia
นิ้วปุ๋ม (clubbing of fingers) จากการเพิ่มของหลอดเลือดฝอยที่ปลายนิ้ว
ประเมินสภาพจากการฟัง
ลักษณะเสียงหายใจที่ผิดปกติ (adventitious sound)
Stridor
Wheeze
Rhonchi
Crepitations หรือ rale
Grunting
Ratting หรือ Congestion
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การส่งตรวจในระบบทางเดินหายใจ(bronchoscopy/laryngoscopy)
การตรวจสมรรถภาพปอด (pulmonary function test)
การตรวจทางรังสีวิทยา เช่น X-Ray ทรวงอก
การตรวจเสมหะ
การตรวจก๊าซในเลือดแดง (arterial blood gases study/ABG)
ไข้หวัด
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส rhinovirus ซึ่งมีมากกว่า100 ชนิด รองลงมา ได้แก่coronavirus และ
parainfluenza virus
มักพบในฤดูหนาว
เยื่อโพรงจมูกที่เเห้ง มักเกิดได้ง่าย
อาการของโรคหวัด
ขึ้นอยู่กับอายุ เเละชนิดของไวรัส
เด็กโตอาจไม่มีไข้ เเต่อาจเริ่มดวยอาารเจ็บคอเเละระคายเคือง
หวัดเป็นโรคเริ่มของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจทั้งหมด
หากติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น influenza virus respiratory syncytial virus มักมีอาการปวดหัวเสียงเเหบ
การรักษา
การเช็ดตัว
ยาลดไข้ เช่น paracetamol
ระมัดระวังการใช้ibuprofen
โดยเฉพาะช่วงที่มีโรคไข้เลือดออกระบาด
ในเด็กที่เป็นไข้หวัดใหญ่หรือสุกใสและได้รับยาแอสไพริน
หากมีน้ำหมูกข้นให้ใช้น้ำเกลือ เเละดูดออก
โรคคออักเสบ/ทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
nfluenza
virus
parainfluenzavirus
adenovirus
rhinovirus
respiratory
syncytial virus (RSV) ไวรัส
เชื้อเเบคทีเรีย
group A betahemolytic streptococci (GABHS)
อาการ
ไวรัส
มีน้ำหมูก คัดจมูก จาม พบตาเเดง น้ำตาไหล เสียงเเหบ
แบคทีเรีย
โดยเฉพาะ GABHS จะมีอาการไข้สูง เจ็บคอมาก ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
การวินิจฉัย
ทอนซิลอักเสบเป็นหนอง หรือทอนซิลบวมแดงจัด
ต่อมน้ำเหลืองบริเวรส่วนหน้าบวมเเละกดเจ็บ
:ไข้สูง > 38 oC
ไม่มีอาการไอ
อายุ 3 - 14 ปี
การรักษา
ยาลดไข้
ยาอมต่างๆ มักมียาชาเป็นส่วนประกอบ เช่น lozenges
ยาพ่นคอ xylocaine gel
amoxicillin หรือ penicillin เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรกถ้าผู้ป่วยไม่แพ้
Croup syndrome
สาเหตุ
parainfluenza
virus
influenza virus
respiratory syncytial virus
การรักษา
supportive care เป็นหัวใจส าคัญของการรักษา
ในกรณีที่อาการไม่รุนแรง (croup score < 4) ไม่จำเป็นต้องรับไว้
รักษาในโรงพยาบาล ควรให้การรักษาตามอาการ
แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ
ให่้ออกซิเจนเมื่อจำเป็น
รบกวนผู้ป่วยให้น้อยที่สุด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ยาต้านจุลชีพ, antitussive, decongestant
หลอดลมอักเสบ
สาเหตุ
respiratory syncytial virus (RSV)
parainfluenza virus
อาการ
ระยะที่ 1 (prodromal phase) ระยะเวลา 2-3 วัน เป็นช่วงที่มีอาการ ไข้ ไอ น้ำหมูก
ระยะที่ 2 (tracheobronchial phase) ระยะเวลา 4-6 วัน เป็นช่วงที่ มี
อาการทางหลอดคอและหลอดลม เริ่มด้วยไอแห้ง ต่อมาไอมีเสมหะ อาจมีไข้ได้
ระยะที่ 3 (recovery phase) ระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ อาการไอและมี เสมหะ
การักษา
รักษาตามอาการ ดื่มน้ำมากๆ
ไม่ให้ยาลดการไอ เพราะทำให้เกิดอาการง่วงซึม
ทำกายภาพบ าบัดเพื่อระบายเสมหะ
หอบหืด
อาการ
(wheeze)
(breathlessness)
(chest tightness)
อาการไอ
การวินิจฉัย
ประวัติ
อาการทางคลินิก
การตรวจร่างกาย และ/หรือการทดสอบสมรรถภาพปอดที่เข้าได้กับโรคหอบหืด
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง
ถ้าหอบมาก ให้ออกซิเจน
ให้IVในผู้ป่วยที่กินไม่ได้หรือกินได้น้อยลง
Bronchodilators
Corticosteroids