Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท, นางสาวสาธนี โชติธนธรกิจ รหัส…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
การตรวจทางระบบประสาท
กรวดน้ำไขสันหลัง (Lumbar puncture)
เจาะ L3-L4 ตรวจหาการติดเชือวัดความดันในน้Ũาไขสันหลัง และเพื่อให้ยาทาง ไขสันหลัง ระวังภาวะ IICP
Subdural tap
ใช้เข็มเจาะบริเวณ Coronal suture เพืÉอวินิจฉัย
Subdural effusions และ ช่วยลดภาวะ IICP
Brain Scan
เป็นการฉีดสาร radioactive เข้าไปทางเส้นเลือดดํา
เพื่อหาตําแหน่งของพยาธิสภาพ
CT Scan
เป็นการตรวจโดยใช้รังสี X-ray แยกแยะความหนาแน่น
ของเนื้อเยื่อใน ห็นสมองภาคตัดขวางและแนวดิ่ง
ตรวจวิธีอืน ๆ
เช่น MRI (magnetic resonance imagine), PET
(position emission tomography)
ความบกพร่องทางสติปัญญา
อาการ
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
อความผิดปกติของการเล่นและจินตนาการ
มีความบกพร่องด้านมนุษยสัมพันธ์
ทํากิจวัตรซ้ำ
(Lorna Wing)
แบ่งเด็กออทิสติกออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มที่แยกตัว (Aloof)
กลุ่มที่นิ่งเฉย (Passive)
กลุ่มที่เขาหาคน (Active but Odd)
การรักษา
ปรับเปลีˠยนพฤติกรรมอย่างเหมาะสม
เสริมสร้างทักษะใหม่ๆ จําลองสถานการณ์ทาง สังคม
ฝีกพูด (พูดโดยผ่านการเล่น)
ให้การศึกษาพิเศษตามความถนัด เช่น ศิลปะ
ดนตรี กีฬา คณิตศาสตร
การพยาบาลเด็กที่มีอาการชักเกร็ง
primary Febrile Convulsion (1 °F.C.)
อาการชักเกิดหลังมีไข้ อุณหภูมิสูงมากกว่า 39 °C
ไม่มีอาการผิดปกติทางสมองมาก่อน ชักไม่เกิน 15 นาที
Secondary Febrile Convulsion (2 °F.C.)
อาการ
อาการชักมักจะเกิดขึ้นเมื่อมีไข้ขึ้นสูงในเวลา
รวดเร็ว ลักษณะการชักมักแสดงออกในรูปของการชัก
ทั้งตัว โดยมากเป็นชนิดเกร็งแข็ง ระยะเวลาประมาณ 2-3 นาทีเป็นส่วนใหญ่
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย
ตรวจทางระบบประสาท
น้ำไขสันหลัง
ห้องปฏิบัติการ EEG
การรักษา
นอนตะแคงศีรษะต่ำ คลายเสื้อผ้าที่รัด ดูทางเดิน
หายใจ
ไม่ใช้ช้อน หรือวัสดุใดๆ งัดปาก
เช็ดตัวลดไข้
ถ้าชักนาน > 5 นาที พิจารณาให้ diazepam 0.3
มก./กก. ทางหลอดเลือดดําหรือ 0.5 มก./กก. ทาง
ทวารหนัก ขนาดสูงสุดไม่เกิน 10 มก
ยาป้องกันอาการชัก
diazepam ให้ทวารหนักในเด็ก ให้
ใช้ diazepam
syringe แบบ plastic หรือ
ต่อกับสายสวนทางทวารหนักสอด
Phenytoin(Dilantin) ยานี้ควรติดตามการเต้นของหัวใจและความดัน
โลหิต
Pentobarbital ขนาด 5-20 มก./กก. โดยให้
ทางหลอดเลือดดําในอัตราไม่เกิน 25 มก./นาที
Thiopental ขนาด 100-250 มก. ทาง
หลอดเลือดําตามด้วย 50 มก. ทุก 2-3นาที จนกว่า อาการชักจะหยุด
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อในระบบประสาท
Meningitis
Bacterial meningitis
Purulent meningitis** (E.coli)
สาเหตุ
E.coli
Gram+ คือ Group B streptococcus
พยาธิสภาพ
เชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ Subarachnoid space 4 ทาง ได้แก่
ทางกระแสเลือด, ลุกลามมาโดยตรง, การปนเปื้อนเชื้อ, แพทย
อาการและอาการแสดง
มีการติดเชื้อในร่างกาย
Meningeal irritation ( 3 อย่าง)
อาการแสดงของภาวะแทรกซ้อน
(สมองบวมและฝี ในสมอง)
การวินิจฉัย Purulent meningitis
ประวัติการเจ็บป่วย
การทํา LP : Pressure > 200 mmHg (160-180 mmHg
Cell > 1,000 cellcumm มี PMN มาก
พบโปรตีนสูง 200 - 300 mg% (15-45 mg%)
Glucose < 40 % ของ BS (ปกติ 40-70 mg%)
Tuberculosis meningitis (Microbacterium Pseudomonas)
อาการและอาการแสดง
Transiminal stage
Terminal stage
Prodomal stage
การวินิจฉัย
ประวัติ TB ในครอบครัว
CXR พบ TB lung หรือ TB ในส่วนอื่นๆ
การรักษา
ให้ยารักษา TB (INH, PAS, Streptromycin)
รักษาภาวะ IICP จากภาวะสมองบวม
(Dexa, Manital, Diamox)
รักษาแบบประคับประคอง
Viral meningitis
Eosinophilic meningitis
Fungal meningitis
การวินิจฉัย Meningitis
ตรวจอื่นๆ ได้แก่ ทดสอบทูเบอร์คูลิน, CT scan, CxR,
MRI
CSF พบโปรตีน และน้้าตาลต่ำ
การพยาบาลเด็กทีู่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการ
ศีรษะโตมาก หนังศีรษะบาง และเห็นเส้นเลือดได้ชัดเจน
กระหม่อมโป่งตึง หน้าผากกว้าง รอยต่อของแผ่นกระโหลก
ศีรษะจะแยกออกจากกันและคลําได้
setting sun sign Macewen’s sign, มี Reflex และ Tone ของขาทั้ง 2 ข้างไว
การวินิจฉัย
ประวัติ อาการและอาการแสดง, HC
transillumination test
X-ray skull
subdural tap
ventriculography
computerized axial tomotraphy
การรักษา
การเจาะหลังร่วมกับใช้ยา นิยมทําShunting ร่วมการทําผ่าตัดเพื่อแก้ไข ซึ้งทําได้ 2 วิธี คือ
การผ่าตัดแก้ไขสาเหตุ
การผ่าตัดเปลียนทางเดินของน้ำไขสันหลัง (shunting)
ภาวะเเทรกซ้อน
Obstruction
Infection
Overdraining : subdural hematoma, slit ventricular syndrome
Orther : disconnection, silicone allergy
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะนํ้าคั่งใน
กะโหลกศีรษะ
ระยะก่อนผ่าตัด
ป้องกันการเกิดภาวะความดันใน
กะโหลกศีรษะสูง
ป้องกันการเกิดแผลกดทับบริเวณ
ศีรษะ
ป้องกันการเกิดภาวะขาดสารนํ้า
และสารอาหาร
การพยาบาลทั่วไป
ระยะหลัง
ผ่าตัด
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน จากการ
ที่ทําผ่าตัดเปลี่ยน ทางเดินนํ้าไขสันหลัง
ป้องกันการเกิดภาวะขาดสารนํ้า
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับเคลือนไหว
สาเหต
ระยะตั้งครรภ์
ติดเชื้อ เช่น
หัดเยอรมัน
ทุพโภชนาการ
ระยะคลอด
เด็กขาดออกซิเจน/ ได้รับยากด
สมอง/ สมองกระทบกระเทือน
ระยะแรกเกิดของทารก
ติดเชืÊอ บาดเจ็บ อุบัติเหตุ ความ
ผิดปกติใน metabolism น้ำตาลลดลง
แคลเซียมลดลง
ปัญหาของเด็ก CP
การติดต่อสื่อสารลําบาก สาเหตุจากการไหลเวียนเลือดในสมองลดลง
โภชนาการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากได้รับอาหารน้อยกว่าความต้องการของ
ร่างกาย สาเหตุจากไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้พอด
เสี่ยงต่อการได้รับอันตรายเนื่องจากการชัก สาเหตุจากระบบประสาทส่วนกลางถูกทําลาย
นางสาวสาธนี โชติธนธรกิจ รหัส 61121301086