Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลังรัฐบาล และนโยบายการคลัง, นางสาวปัทมา แก้วผ่อง เลขที่1 รหัส…
การคลังรัฐบาล
และนโยบายการคลัง
รายได้และรายจ่ายรัฐบาล
1.การแสวงหารายได้
รัฐบาลจะหายได้เพียงเฉพาะที่จำเป็นแก่การใช้จ่ายตามงบประมาณเท่านั้น ส่วนภาคเอกชนจะพยายามแสวงหารายได้ให้มากที่สุด
2.ความสำคัญของรายได้รายจ่าย
รัฐบาลจะมีรายจ่ายเป็นตัวกำหนดรายได้ ส่วนเอกชนนั้นจะมีรายได้เป็นตัวกำหนดรายจ่าย
3.วัตถุประสงค์ของการใช้จ่าย
รัฐบาลจะใช้เงินงบประมาณออกไปเพื่อสาธารณะประโยชน์เป็นสำคัญ ส่วนเอกชนจะคำนึงถึงประโยชน์ส่วนตนและญาติพี่น้องเป็นสำคัญ
รายได้ของรัฐ
Public Revenue
รายได้จากภาษีอากร
Tax Revenue
Tax คือสิ่งที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฎรเพื่อใช้จ่ายในกิจการของรัฐ
หลักการของระบบภาษีที่ดีตามแบบของ Adam Smith
หลักความยุติธรรม Equity
หลักความแน่นอน Certainty
หลักความสะดวก Convenience
หลักความประหยัด Economy
ประเภทของภาษีอากร
แบ่งตามหลักการผลักภาระภาษี
ภาษีทางตรง
Direct Tax
ภาษีทางอ้อม Indirect Tax
แบ่งตามลักษณะของฐานภาษี
ภาษีที่เก็บจากเงินได้
ภาษีที่เก็บจากทรัพย์สิน
ภาษีที่เก็บจากโภคภัณฑ์
อัตราภาษี
อัตราก้าวหน้า Progressive Rate
อัตราคงที่ Proportional Rate
อัตราถอยหลัง
Regressive Rate
หน่วยงานจัดเก็บภาษีอากร
กรมสรรพกร
กรมสรรพสามิต
กรมศุลกากร
ส่วนราชการอื่นที่มีอำนาจจัดเก็บ
วัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากร
1.เพื่อเป็นรายได้ของรัฐ
2.เพื่อการควบคุมการบริโภค
3.เพื่อการจัดสรรและการกระจายรายได้
4.เพื่อการชำระหนี้ของรัฐ
5.เพื่อเป็นเครื่องมือในนโยบายธุรกิจ
6.เพื่อเป็นเครื่องมือนโยบายการคลัง
รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร
Non-Tax Revenue
รายได้จากรัฐสามิต
รายได้จากรัฐพาณิชย์
เงินค่าธรรมเนียม/ฤชา/อากรแสตม
รายได้จากเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
รายได้อื่นๆ
รายจ่ายของรัฐบาล
Public Expenditures
รายจ่ายประจำ
Current Expenditure
รายจ่ายเพื่อการลงทุน
Capital Expenditure
หนี้สาธารณะ Public Debt
วัตถุประสงค์
กู้มาใช้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
กู้มาใช้จ่ายในยามสงครามหรือเพื่อความมันคงของประเทศ
กู้มาใช้จ่ายในการบริหารประเทศในระยะสั้น
กู้มาใช้ชำระหนี้เก่าที่ถึงกำหนดชำระหนี้และดอกเบี้ยคืน
ประเภท
แบ่งตามที่มาของเงินกู้
หนี้ภายในประเทศ
หนี้ภายนอกประเทศ
แบ่งตามระยะเวลาการกู้
หนี้ระยะสั้น
หนี้ระยะปานกลาง
หนี้ระยะยาว
งบประมาณแผ่นดิน
Goverment Budget
เป็นแผนการทางการเงินของรัฐบาลที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดงถึงรายรับและรายจ่ายที่หน่วยงานของรัฐบาลใช้ในการดำเนินโครงการ
งบประมาณประจำปี
เริ่ม 1 ตุลาคม สิ้นสุด 30กันยายน ปีถัดไป
งบประมาณเพิ่มเติม
ทำขึ้นในกรณีพิเศษและมีความจำเป็นเท่านั้นและมิได้มีการตั้งงบประมาณไว้ในงบประมาณประจำปี
ความสำคัญ
เป็นเครื่องมือบริหารของรัฐบาลทั้งในด้านนโยบายการคลังและนโยบายเศรษฐกิจ
เป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการกำหนดงานของหน่วยราชการ
เป็นสื่อกลางที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร
เป็นเครื่องมือที่ช่วยวัดประสิทธิภาพในการดำเนินงานของรัฐ
ประเภท
งบประมาณสมดุล
งบประมาณขาดดุล
งบประมาณเกินดุล
รายได้ของรัฐบาลมากกว่ารายจ่าย
รายได้ของรัฐบาลน้อยกว่ารายจ่าย
รายได้และรายจ่ายของรัฐบาลมีจำนวนเท่ากัน
ขั้นตอนการบริหาร
จัดเตรียมงบประมาณแผ่นดิน
พิจารณางบประมาณแผ่นดิน
การเบิกใช้งบประมาณแผ่นดิน
ตรวจสอบ,ติดตามการใช้งบประมาณแผ่นดิน
นโยบาการคลัง
Fiscal Policy
โดยใช้นโยบายภาษีอากร นโยบายรายจ่ายของรัฐบาล และนโยบายหนี้สาธารณะ
วัตถุประสงค์
ต้องการให้มีการจ้างงานเต็ม
เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
การดำเนินนโยบาย
นโยบายภาษีอากร
นโยบายรายจ่าย
นโยบายหนี้สาธารณะ
นโยบายภาษีอากร
นโยบายภาษีอากรเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ใช้การออกแบบภาษีที่ปรับตัวได้เอง
ใช้วิธีเปลี่ยนแปลงประเภทและอัตราภาษี
นโยบายภาษีอากรเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
ใช้ภาษีอากรเป็นแหล่งรายได้เพื่อพัฒนาประเทศ
ใช้ภาษีอากรเพื่อควบคุมการบริโภค
ใช้ภาษีอากรเพื่อส่งเสริมการลงทุน
นโยบายรายจ่าย
การใช้นโยบายรายจ่ายแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ
การใช้นโยบายรายจ่ายแก้ไขภาวะเงินฝืด
นโยบายหนี้สาธารณะ
การใช้นโยบายหนี้สาธารณะเพื่อรักษาเสถียรทางเศรษฐกิจ
การใช้นโยบายหนี้สาธารณะเพื่อแก้ปัญหาเงินเฟ้อ
การใช้นโยบายหนี้สาธารณะเพื่อแก้ไขเงินฝืด
การใช้นโยบายหนี้สาธารณะเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ
รูปแบบการดำเนินนโยบายการคลัง
แบบเข้มงวด
แบบผ่อนคลาย
นางสาวปัทมา แก้วผ่อง เลขที่1
รหัส 6115107001004 กลุ่มเรียน 61012.151