Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายของไทยที่กล่าวถึงสิทธิด้านสุขภาพ - Coggle Diagram
กฎหมายของไทยที่กล่าวถึงสิทธิด้านสุขภาพ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
หมวดที่ 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
:สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ
มาตรา 48
สิทธิของมารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังคลอดบุตร
ย่อมได้รับความคุ้มครองและช่วยเหลือ
บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ และบุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
มาตรา 55
รัฐต้องด าเนินการให้ ; ประชาชนได้รับการบริการสาธารณสุข(ส่งเสริม การควบคุม และป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟู)ที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง
เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้ การส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค
สนับสนุนภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย
บริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและมาตรฐานสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
มาตรา 47
บุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับ การบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามที่กฎหมายบัญญัติ
บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตรายจากรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการบริการ
สาธารณสุขของรัฐ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
หมวด 1
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา 7
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล จะทำการเผยแพร่ไม่ได้ เว้นแต่ การเปิดเผยนั้นไปตามความประสงค์ของบุคคล หรือกฎหมาย ห้ามอาศัยอำนาจหรือสิทธิตามกฎหมายอ้างว่าเป็นข้อมูลข่าวสารของราชการ
มาตรา 8
บุคลากรด้านสาธารณสุข ต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอ ในกรณีเกิดความเสียหายแก่ผู้รับบริการเพราะเหตุที่ผู้รับบริการปกปิดข้อเท็จจริง ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบความเสียหาย เว้นแต่ผู้ให้บริการประมาทเลินเล่อ
มาตรา 6
สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจรฺญพันธุ์
สุขภาพของเด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคมและกลุ่มคนต่าง ๆ
มาตรา 9
ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข ต้องแจ้งให้ผู้รับบริการทราบล่วงหน้า และต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้รับบริการถอนเสียเมื่อใดก็ได้
มาตรา 5
บุคคลมีหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการให้เกิดสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมตามวรรคหนึ่ง
บุคคลมีสิทธิในการด ารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและ
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา 10
เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้นหน่วยงานของรัฐที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ต้องเปิดเผยข้อมูลและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบ การเปิดเผยข้อมูล ต้องไม่มีลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
มาตรา 11
บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ มีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐก่อนการอนุญาต
มาตรา 12
บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข เพื่อยืดการตายในวาระสุดท้าย ต้องให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎหมายของบุคคลตามวรรคหนึ่งแล้ว มิให้ถือว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและให้พ้นจากความรับผิดทั้งปวง
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551
หมวด 2
สิทธิผู้ป่วย
มาตรา 16
ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย เว้นแต่
ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้อื่น
ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้อื่น
3.มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
มาตรา 18
กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษาผู้ป่วยได้รับทราบเหตุผลความจำเป็น ความเสี่ยงที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายร้ายแรง
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยหากมิได้บำบัดรักษาจะเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วย
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า การกระทำต่อสมองหรือระบบประสาทหรือการบำบัดรักษาด้วยวิธีอื่นใด ที่อาจเป็นผลทำร่างกายไม่อาจกลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างถาวร ให้กระทำได้
มาตรา 15
1.ได้รับการบeบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์
2.ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษาไว้เป็นความลับ เว้นแต่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้เปิดเผย
3.ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัย
4.ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคมและระบบอื่นๆ ของรัฐ
มาตรา 17
โดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจำเป็น เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่น
มาตรา 20
การวิจัยใดๆ ที่กระทำต่อผู้ป่วย จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ป่วย และต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการที่ดำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมการวิจัยในคนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ความยินยอมตามวรรคหนึ่งผู้ป่วยจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้
มาตรา 19
การทำหมันผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่ได้ ปฏิบัติตามมาตรา 18 (1) (การรักษาทางจิตเวชด้วยฟฟ้า)
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550
มาตรา 20
คนพิการมีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิ่งอeนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542)
ข้อที่ 1
ผู้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลต้องแสดงรายละเอียดของอัตราค่ารักษาพยาบาลตามบริการที่จัดให้มีของสถานพยาบาล
ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล การบริการอื่นของสถานพยาบาลและสิทธิของผู้ป่วยซึ่งผู้รับอนุญาตจะต้องแสดง ตามมาตรา 32 (3) ซึ่งอาศัยอำนาจแห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541
ข้อที่ 2
ผู้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลต้องแสดงรายละเอียดของค่าบริการอื่นของสถานพยาบาลตามบริการที่จัดให้มีไว้
ข้อที่ 3
ผู้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ต้องแสดงรายละเอียดถึงสิทธิของผู้ป่วยที่พึงได้รับจากผู้ประกอบวิชาชีพ
ประมวลกฎหมายอาญา
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 (ฉบับปรับปรุงเมื่อ พ.ศ.2551) ลักษณะ ๑๑ ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง หมวด ๒ ความผิดฐานเปิดเผยความลับ
มาตรา 323
ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจำหน่ายยานางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ หรือผู้สอบบัญชีหรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้นแล้วเปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน
ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน