Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สตรีตั้งครรภ์ G3P1A1 GA 30 wks., การใช้ยาครั้งเดียว, นางสาวณภคมน วาเรหมัน…
สตรีตั้งครรภ์ G3P1A1 GA 30 wks.
ปัจจัยเสี่ยง
จาก case
เคยมีประวัติแท้งใครครรภ์ก่อน
G3P1A1
มีน้ำเดินก่อนกำหนด
ให้ประวัติ มีน้ำใสๆ ออกช่องคลอดก่อนมา รพ. 10 ชม.
นานกว่า 18 ชม.
Chorioamnionitis
ทารกได้รับเชื้อ
กลไกการป้องกันเชื้อยังไม่สมบูรณ์
ทารกหลังคลอดมีการติดเชื้อ
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
UA พบ WBC 200-300 cell/ml.
BT 38 องศาเซลเซียส
Preterm labor
เจ็บครรภ์คลอดก่อน 37 wks.
Cervex dilate 1 cm.
มีอาการเจ็บครรภ์
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
Terbutaline
5 mg. in 5% D/W 500 ml. vein drip 30 cc/hr.
Beta adrenergic receptor agonist
การออกฤทธิ์
กระตุ้น beta1
หัวใจเต้นเร็ว ไม่เป็นจังหวะ
Pt. มีอาการใจสั่น
เพิ่มการเผาผลาญไขมัน ทำให้ lactic acid คั่ง
กระตุ้น beta 2
กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
หลอดลมขยาย
หลอดเลือดขยาย ความดันโลหิตลดลง
การประเมิน ก่อน-หลังให้ยา
BP, PR, RR
report RR > 120 bpm
Lung sound: pulmonary edema
อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ใจสั่น
Monitor hyperglycemia, hypokalemia
ผลกระทบ
ขาดสาร surfactant
ปกติ surfactant สร้างเมื่อ GA 36 wks.
ถุงลมสูญเสียความยืดหยุ่น
หายใจโดยใช้แรง :arrow_up:
RDS
bronchopulmonary dysplasia
Dexamethasone
6 mg. IM q 12 hr. x 4 dose
ให้เพื่อกระตุ้นการเจริญของปอด ลดความเสี่ยง RDS
ผลข้างเคียง
ทารก
ไม่มีผลต่อการเจริญของทารก
ไม่กดการทำงานของต่อมหมวกไตทารก
มารดา
การติดเชื้อ
น้ำตาลในเลือดสูง
pulmonary edema
กดการทำงานของต่อมหมวกไต
Vaginal delivery
สมองมีลักษณะนิ่ม กะโหลกไม่แข็ง
ช่องคลอดบีบศีรษะทารก
เส้นเลือดในสมองแตก
Intraventricular hemorrhage
มีการเขย่าตัวทารก
ทารกเจอความร้อน-เย็น ต่างกัน
ความดันเปลี่ยนแปลง
น้ำหนักตัวน้อย
Breast feeding
มีการนำธาตุเหล็กมาใช้ :arrow_up:
โลหิตจาง
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
สายสะดือถูกกด
ทารกขาด oxygen
สมองขาด oxygen
cerebral palsy
neurodevelopmental delay
ลำไส้ขาดเลือดไปเลี้ยง
เกิดการตายของเนื้อเยื่อ
NEC
ทารกเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
มารดาเครียด กังวลเกี่ยวกับสุขภาพทารก
Cortisol
PGE2
แรงดันในโพรงมดลูก :arrow_up:
PPROM
Prolapse cord
ความไม่สมบูรณ์ของส่วนต่างๆ ของร่างกายทารก
จอประสาทตา
เปราะ แตกง่าย
เลือดออก
เกิดพังผืด
ดึงรั้งจอประสาทตา
ความบกพร่องทางการมองเห็น
หลังคลอด ควรได้รับการตรวจตา
เสี่ยงสูญเสียการได้ยิน
สูญเสียความร้อนง่าย
Hypothemia
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
กิจกรรมการพยาบาล
รับไว้ใน รพ.
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด แผนการดูแล และคำแนะนำในการปฏิบัติตัว
ดูแลให้นอนพักบนเตียง โดยนอนตะแคงซ้าย เพื่อให้การไหลเวียนเลือดบริเวณมดลูกเพิ่มมากขึ้น
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทั้งระยะเวลา ความถี่และความแรง และประเมินเสียงหัวใจทารกในครรภ์ทุก 2-4 ชม.
V/S เพื่อเป็นแนวทางการวางแผนการดูแลรักษา
งด PV, PR และงดสวนอุจจาระ
ดูแลให้ได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา Terbutalin 5 mg. in 5% D/W 500 ml. vein drip 30 cc/hr.
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการเจริญของปอดทารกตามแผนการรักษา Dexamethasone 6 mg IM q 12 hr X 4 dose
คำแนะนำเมื่อกลับบ้าน
ประเมินอาการเจ็บครรภ์ ปวดถ่วงท้องน้อย การหดรัดตัวของมดลูก น้ำเดิน การดิ้นของทารกในครรภ์
หากพบอาการผิดปกติ ให้มาพบแพทย์ทันที
เพื่อป้องกันภาวะเจ็บครรภฺ์คลอดก่อนกำหนด
วิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอดก่อนกำหนดและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
ปลอบโยนให้กำลังใจ
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์ได้ระบายความรู้สึก
ให่ข้อมูลและคำแนะนำต่างๆ เพื่อลดความวิตกกังวล
ดูแลให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดุแลสตรีตั้งครรภ์
การใช้ยาครั้งเดียว
นางสาวณภคมน วาเรหมัน 61102539