Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา, นางสาวฮานาน ดอเลาะ เลที่27…
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
บทที่2การเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบความสามารถในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าบรรลุตามเป้าหมาย หรือมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาหรือไม่ เพื่อจะ เพื่อจะได้นำผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่อไป
การประกันคุณภาพภายใน เป็นการสร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินการด าเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย และเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาและหรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นผู้ก าหนดเวลาในการประเมินระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
กระบวนการด าเนินงานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อเตรียมพร้อมและรองรับการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา มีขั้นตอนการดำเนินงาน แสดงดังแผนภาพที่ 4
ขั้นเตรียมการ
1.1 ขั้นเตรียมความพร้อมของบุคลากรทุกคน
1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการ หรือคณะท างาน
ด้านการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ขั้นดำเนินการ
การวางแผนการปฏิบัติ (P)
การดำเนินการตามแผน (D)
การตรวจสอบผลการดำเนินงาน (C)
การนำผลการประเมินคุณภาพภายใน
มาปรับปรุง (A)
ขั้นจัดทำรายงาน
ผลการประเมิน
รวบรวมผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้
เขียนรายงานผลการดำเนินงาน
ประกันคุณภาพภายใน
สรุปรายงานประจำปี
บทที่1การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
กระบวนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ 1 กำรกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ว่าด้วย การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กฎกระทรวงประกาศใช้ โดยกิจกรรมที่จ าเป็นต้องปฏิบัติในขั้นนี้ คือ
1.1ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของมาตรฐานชาติ มาตรฐานส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานเขตพื้นที่ มาตรฐานหลักสูตร ศึกษาความต้องการ จำเป็นและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.2 เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในทุกกระบวนการอย่างชัดเจน
1.3ก าหนดผู้รับผิดชอบ เช่น คณะกรรมการดำเนินการจัดทำมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา
กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายด้านต่าง ๆ
กำหนดวิธีด าเนินงาน ทุกโครงการ กิจกรรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
กำหนดแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบ และร่วมดำเนินกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ
กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน
กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพให้สอดคล้องกับกิจกรรม/โครงการ
ขั้นตอนที่ 3 การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
จัดโครงสร้างระบบบริหารของสถานศึกษาที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป พร้อมทั้งกำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละงาน
จัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการน าไปใช้และเชื่อมโยงกับหน่วยงานต้นสังกัด
นำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ ได้แก่
3.1 การนำสารสนเทศไปใช้ในการวางแผนด าเนินงานต่าง ๆ
3.2 การนำสารสนเทศไปใช้ในการก ากับติดตามและประเมินผล
3.3 การนำสารสนเทศไปใช้ในการบริหารจัดการ
3.4 การนำสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน
ขั้นตอนที่ 4 กำรดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยครูประจำชั้น/ผู้รับผิดชอบงานโครงการ/กิจกรรม
ขั้นตอนที่ 5 การจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การกำหนดผู้รับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา ควร
ดำเนินการดังนี้
1.1 แต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โดยแต่งตั้งผู้เกี่ยวข้องกับงาน โครงการ กิจกรรม
1.2 สร้างความเข้าใจในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา
1.3 มอบหมายงานให้บุคลากรตามความรู้ความสามารถ
1.4 ร่วมกันวางแผน กำหนดภารกิจในแต่ละงาน
1.5 ก าหนดปฏิทินติดตาม ตรวจสอบ
ดำเนินการติดตามตรวจสอบทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา อย่างน้อยภาคเรียนละ 1
ครั้ง (โดยคณะกรรมการระดับสถานศึกษา
จัดท ารายงานเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องและน าผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาไปใช้วางแผนด าเนินงานปรับปรุงพัฒนา การบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน
เตรียมการรองรับการตรวจสอบและให้ความร่วมมือในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัด
ขั้นตอนที่ 6 การจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยแต่งตั้งคณะกรรมการอย่าง
น้อย 3 คน ประกอบด้วย
1.1 บุคลากรภายในสถานศึกษา
1.2 ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่หน่วยงานต้นสังกัดขึ้นทะเบียนไว้อย่างน้อย 1 คน
จัดทำเครื่องมือสำหรับประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างหลากหลาย
ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ 7 การจัดทำรายงานประจำปี
การจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยรายงานผลที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียน (ร้อยละ 30) และผลที่สะท้อนให้เห็นภาพความสำเร็จ ของการบริหารจัดการศึกษาตามรูปแบบที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด (ร้อยละ 70)ซึ่งมีแนวทางในการปฏิบัติตามล าดับขั้นตอน แสดง
ขั้นแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา
ขั้นรวบรวมข้อมูลสำรสนเทศ วิเคราะห์ และแปลผล
ขั้นเขียนรายงานประจ ำปีของสถานศึกษา
ขั้นนำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณำให้ความเห็นชอบ
ขั้นเผยแพร่
ขั้นตอนที่ 8 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีหลากหลายแนวคิด ในส่วนนี้น าเสนอแนวคิดใหม่ ที่
ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการทั้งใน และต่างประเทศ 4 แนวคิด ได้แก่
แนวคิดที่ 1 กระบวนการพัฒนาโดยการใช้ข้อมูลอย่างชาญฉลาด (Data Wise Improvement Process)
แนวคิดที่ 2 การจัดการความรู้(KnowledgeManagemente)
แนวคิดที่ 3 การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้(Networking)
แนวคิดที่ 4 การน าผลการประเมินไปใช้ประโยชน์(Evaluation Utilization)
บทที่3การเขียนรายงานประจำปี
วัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงาน
เป็นรายงานที่แสดงภารกิจการดำเนินงานและผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา ซึ่งถือเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องจัดทำเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อหน่วยงานต้นสังกัด
เป็นฐานข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการประเมินคุณภาพภายนอก สถานศึกษาต้องส่งรายงานดังกล่าวนี้ให้แก่สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์กรมหาชน) ในปีที่เข้ารับ การประเมิน
สถานศึกษามีหน้าที่รายงานผลการด าเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่ละปี ให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนรายงานสาธารณชน เพื่อให้เกิดความร่วมแรงร่วมใจในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพสูงยิ่งๆ ขึ้นไป
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรายงาน
สถานศึกษามีฐานข้อมูลของการด าเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในแต่ละปีการศึกษาทั้งในด้านจุดเด่น จุดควรพัฒนา โอกาสและข้อจำกัด ข้อมูลผลการดำเนินงานในปีปัจจุบันจะเป็นประโยชน์ ต่อการนำไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาในปีถัดไป
ครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องได้เห็นข้อมูลจากการดำเนินงานของสถานศึกษาในเชิงประจักษมีหลักฐานชัดเจน ช่วยกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัว และมีการปรับพฤติกรรมการทำงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ร่วมกัน
ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับรู้ผลงานในส่วนที่ดี มีการประชาสัมพันธ์ไปสู่วงกว้างและในส่วนที่ควรได้รับการแก้ไข
หน่วยงานต้นสังกัด มีฐานข้อมูลระดับสถานศึกษา เขตพื้นที่ ประเทศ ทำให้สามารถกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีทิศทางชัดเจน
สถานศึกษาใช้รายงานประจ าปี แสดงผลการดำเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษาจาก การประเมินตนเอง โดยคณะบุคคลภายในสถานศึกษา เสนอต่อส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) เพื่อรับการประเมินภายนอก โดยไม่ต้องจัดทำใหม่
ระยะเวลาและการส่งรายงาน
สถานศึกษาสรุปผลการจัดการศึกษา และจัดส่งรายงานประจำปีต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 ภายในวันที่ 10 เมษายน ของทุกปี
จัดส่งให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) เฉพาะปีที่จะเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกเท่านั้น
การจัดทำรายงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา ในขั้นตอนของการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม ควรพิจารณาจากแผนพัฒนาสถานศึกษา (หมายถึง แผนพัฒนาระยะ 3 – 5 ปี ให้ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาทุกด้าน
องค์ประกอบของการเขียนรายงานประจำปี
การเขียนรายงานประจำปีของสถานศึกษา สามารถดำเนินการได้ตามรูปแบบที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 กำหนด และสถานศึกษาปรับปรุง เพื่อให้มีความถูกต้อง สมบูรณ์สูงสุดตามความเหมาะสม
ตอนที่ 1
ข้อมูลพื้นฐาน
ตอนที่2แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา
ตอนที่ 3ผลการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ตอนที่ 4สรุปผลการพัฒนาและการนำไปใช้
ภาคผนวก
นางสาวฮานาน ดอเลาะ เลที่27 รหัส6220160472 กลุ่ม6