Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
congestive heart failure (CHF) ภาวะหัวใจล้มเหลว, SDC10086 - Coggle…
congestive heart failure (CHF)
ภาวะหัวใจล้มเหลว
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กำ เนิด (congenital heart disease)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (valvular heart disease)
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardial disease)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease)
Pump dysfunction : หัวใจบีบตัวหรือคลายตัวผิดปกติจากพยาธิสภาพ เช่น การอักเสบ
ของกล้ามเนื้อหัวใจ
2) Volume overload : หัวใจต้องสูบฉีดเลือดปริมาณมากกว่าปกติ
3) Pressure overload : หัวใจสูบฉีดเลือดด้วยแรงดันสูงกว่าปกติ
4) Obstruction ต่อ Lt ventricular outflow tract
5) Severe pulmonary hypertension
6) Cardiac arrhythmia : Tachyarrhythmia ,bradyarrhythmia
อาการและอาการแสดง
อาการเหนื่อย (dyspnea) อ่อนเพลีย (fatigue)
หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
ใจสั่น จากการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ
หัวใจเต้นเร็ว (tachycardia) หายใจเร็ว (tachypnea)
เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง (jugular vein distention)
หายใจเหนื่อนตอนกลางคืน
หัวใจโต โดยตรวจพบว่ามีapex beat หรือ Point of Maximum
Impulse (PMI)
เสียงหัวใจผิดปกติโดยอาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ
cardiac murmur
อาการบวมจากความดันเลือดไปบริเวณส่วนปลายเพิ่มขึ้น (Edema)
คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ท้องบวมน้ำ
ปัจจัยนำ/ปัจจัยเสี่ยง
ภาวะอ้วน
ความเครียด
อาหารเค็ม
สูบบุหรี่
โรคร่วม เช่น เบาหวาน ความดัน ไขมัน
พันธุกรรม
พยาธิ
กลไกที่ทำให้หัวใจทางานผิดปกติ
( Mechanisms of Cardiac Dysfunction)
Failure of the pump เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถบีบเลือดออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย (systolic dysfunction) หรือเกิดจากที่ไม่สามารถคลายตัวได้อย่างปกติ (diastolic dysfunction)ทำให้รับเลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างซ้ายได้น้อยลง ทำให้ปริมาณน้อยลง เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆน้อยลง
An obstruction to flow เกิดจากการตีบของลิ้นหัวใจ aortic (aortic valve stenosis)ทำให้หัวใจต้องทำงานหนักขึ้นในการบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
Regurgitation flow เกิดจากการไหลย้อนกลับของเลือดเมื่อหัวใจบีบตัวแต่ละครั้งปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้น หัวใจท างานหนักขึ้นในการบีบตัวครั้งต่อๆไป สาเหตุจากลิ้นหัวใจรั่ว ที่พบบ่อยคือ mitral regurgitation และ aortic regurgitation
Disorders of cardiac conduction ประสิทธิภาพในการทางานของหัวใจลดลง จากความผิดปกติของการนำไฟฟ้าหัวใจ เช่น ภาวะheart block การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
Disruption of the continuity of the circulatory system เป็นภาวะที่มีการรั่วไหลของ เลือดออกจากระบบหมุนเวียนโลหิต
หัวใจห้องล่างซ้ายวาย
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถบีบเลือดที่มีออกซิเจนน้ำตาลและสารอาหารต่างๆ ไปเลี้ยงร่างกายได้ทำให้มีอาการอ่อนเพลียเหนื่อยง่ายและซีพจรเบาลง
อาการเหนื่อยง่ายจากหัวใจห้องล่างซ้ายวายเกิดจากการที่มีแรงต้านทานระหว่างหัวใจห้องบนซ้ายกับปอดและเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบในปอดทำให้เกิดภาวะน้ำคั่งในปอดทำให้หายใจลำบากมีเสียง Crepitation ในปอด
หัวใจห้องล่างขวาวาย
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาทำหน้าที่ลดลงไม่สามารถบีบเลือดไปที่ปอดได้ทำให้มีเลือดคั่งอยู่ในระบบไหลเวียนส่งผลให้เลือดดำคั่งในอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายและมีอาการบวมที่แขนขาและท้อง
•ผู้ป่วยที่หัวใจห้องล่างขวาวายมักมีหลอดเลือดที่คอโป่ง (JVD) จากการที่เลือดที่ไปเลี้ยงสมองและศีรษะไม่สามารถไหลกลับสู่หัวใจห้องบนขวาได้น้ำหนักขึ้นจากการที่มีน้ำคั่งในร่างกายปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
ภาวะแทรกซ้อน
ตับวาบ
ไตวาย
ลิ้นหัวใจรั่ว
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
Transient
New onset
Chronic
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตาม
การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Diastolic heart failure หรือ heart failure with preserved EF
(HFPEF)
Systolic heart failure หรือ heart failure with reduced EF (HFREF)
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตาม
อาการและอาการแสดงของหัวใจที่
ผิดปกติ
Left sided-heart failure
Right sided-heart failure
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตาม ลักษณะของ cardiac output
High-output heart failure
Low-output heart failure
การรักษาและการพยาบาล
ดูแลให้ยาเพื่อลด Preload และ afterload ของหัวใจ ได้แก่
4.1 ยากลุ่ม Digitalis เพื่อเพิ่มความแรงในการบีบตัว
ของหัวใจและทำให้หัวใจเต้นช้าลง
4.2 ยากลุ่มเบต้าบล็อคเกอร์เพื่อระงับการหลั่ง Stress hormone ลดการเต้นของหัวใจมีฤทธิ์ในการยับยั้งประสาทซิมพาเธติคทำให้ภาวะหัวใจล้มเหลวดีขึ้นผู้ป่วยทำกิจกรรมได้มากขึ้นลดอัตราการตายของผู้
4.3 ACE ให้เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือดมีผลลดทั้ง Preload และ Afterload โดยทำให้หลอดเลือดขยายตัวลดความดันโลหิตและป้องกันการถูกทำลายของหัวใจเพิ่มขึ้น
4.4 ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) เช่น Thiazide, Furosemide, Spironolactone เพื่อลดปริมาตรของน้ำในร่างกายลดอาการบวม
5.1 โดพามีน (Dopamine) จะออกฤทธิ์ผ่าน Dopamine receptor ถ้าให้ในขนาดต่ำ (<4ug / kg / min) จะให้หลอดเลือดที่ไตลำไส้สมองและโคโรนารีขยายตัวปัสสาวะออกดีขึ้น
การให้ยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ
การให้ออกซิเจนเพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ
ลดกิจกรรมให้พักผ่อนทั้งร่างกายและจิตใจ
เพิ่มความสามารถในการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง
เพื่อเพิ่มปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกจากหัวใจแต่ละครั้งและแก้ไขปัญหาของอวัยวะเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไตเพื่อลดการคั่งของเลือด
การปรับพฤติกรรม ได้แก่ การ จำกัดน้ำ จำกัดเกลือควบคุมอาหารออกกำลังกายควบคุมน้ำหนักและ จำกัด แอลกอฮอล์
การให้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ ยากลุ่มไนโตรกลีเซอรีนและในเตรตมีผลให้หลอดเลือดดำคลายตัวและมีฤทธิ์ทำให้ ลดความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจ
การบำบัดด้วยยาขยายหลอดเลือดแดงเช่นโซเดียมไนโตรปรัสไซด์มีผลการขยายหลอดเลือดดำ และแดงลดการทำงานของหัวใจ
การบำบัดด้วยเครื่องมือเช่นใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ฯลฯ การผ่าตัดหัวใจรักษาที่สาเหตุเช่น Coronary artery bypass, heart transplant