Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 รูปแบบของระเบียบวินัยและการนำไปประยุกต์ใช้, นางสาวรูสลีนา ยูนุ๊…
บทที่ 8 รูปแบบของระเบียบวินัยและการนำไปประยุกต์ใช้
บทนำ
การจัดการชั้นเรียนเป็นสิ่งสำคัญที่ครูต้องคำนึงถึงเพื่อสร้างสรรค์สภาพเเวดล้อมในการเรียน
วิธีการหนึ่งที่ใช้ได้ผลคือการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและผู้เรียนในชันเรียนเพื่อให้เกิดความเข้าใจในอุปนิสัยและความประพฤติของผผู้เรียน
รูปแบบของระเบียบวินัยในชันเรียน
การปรับปรุงพฤติกรรม-โดย Skinner
ระเบียบวินัยในความหมายของ B.F.Skinner คือ การควบคุมพฤติกรรม การปรับปรุงพฤติกรรม เป็นการปรับสภาพเเวดล้อมภายในห้องเรียนเพื่อขจัดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ครูสามารถส่งเสริมผู้เรียนที่มีความประพฤติดีได้โดยการให้รางวัลหรือชมเชยเพื่อให้ผู้เรียนยังคงปฏิบัติดีเช่นนี้ต่อไป ดังนั้นครูจึงควรส่งเสริมผู้เรียนที่มีความประพฤติดีมากกว่าจะลงโทษผู้เรียนที่มีความประพฤติ
ในการใช้หลักการนี้ ขั้นเเรกครูจะต้องวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้เรียนให้ได้เสียก่อน
เพื่อพัฒนาเเผนการปรับปรุงพฤติกรรมโดยระบุถึงพฤติกรรมที่ต้องใส่ใจเป็นพิเศษ
นอกจากนี้ครูยังต้องระบุกฏเกณฑ์และผลลัพธ์ที่จะเกิดตามมาด้วย
การปรับปรุงพฤติกรรมมีทั้งข้อดีและข้อเสีย
ข้อดีคือวิธีนี้สามารถนำมาใช้โดยง่าย
ข้อเสียคือให้ผลลัพธ์ทที่อยู่ได้ในระยะเวลาไม่นาน
ระเบียบวินัยในตัวเอง
ถูกคิดค้นขึ้นโดย Lee Canter ผู้เชี่ยวชาญด้านการให้คำแนะนำเกี่ยวกับเด็ก
มีแนวคิดพื้นนฐานว่าด้วยการส่งเสริมความประพฤติที่เหมาะสมของผู้เรียนและการยอมรับผลที่จะเกิดจากการกระทำของผู้เรียนเอง
Canter เชื่อว่าครูมีสิทธิที่จะกำหนดกฏระเบียบสำหรับชั้นเรียนและผู้เรียนจะต้องปฏิบัติตามกฎนั้น
ทั้งนี้ครูควรได้รับความช่วยเหลือจากผู้ปกครอง ครูท่านอื่น ๆ และจากผู้บริหารของโรงเรียน
ระเบียบวินัยในตนเอง มีความคล้ายคลึงกับ การปรับปรุงพฤติกรรม แตหต่างกันตรงที่มีการตั้งกฏเกณฑ์และมีการปฏิบัติตามอย่างเข้มงวด
การวางแผนการสร้างระเบียบวินัยในชั้นเรียนนี้มีขึ้น
เพื่อจัดระเบียบชั้นเรียนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างได้ผล
โดยมีการตั้งกฏระเบียบให้ผู้เรียนปฏิบัติตามตลิดเวลา
รูปแบบนี้จะสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างครูกับผู้เรียนได้
สร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนที่ดีเพื่อให้ผู้เรียนอยากมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ด้วย
การใช้วิธีสร้าง ระเบียบวินัยในตนเอง มีขั้นตอนดังนี้
สร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างครูกับผู้เรียน
กำหนดกฏระเบียบและวิธีปฏิบัติ
สำรวจความประพฤติของผู้เรียนในชั้นพร้อมจดบันทึกไว้
ส่งเสริมความประพฤติที่ดีของผู้เรียน
ใช้วิธีการที่เหมาะสม
ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองของผู้เรียน
ผลลัพธ์ทางตรรกศาสตร์-โดย Dreikurs เชื่อว่าพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้นเกิดจาก
1.การเรียกร้องความสนใจ คือเวลาที่ผู้เรียนพยายามก่อกวนเพื่อให้ครูหันมาสนใจพวกเขา
การเรียกร้องความสนใจจากครูและจากเพื่อนร่วมชั้นเรียน
พวกเขาอาจจะวิ่งวนไปรอบห้องเรียน
เคาะดินสอกับโต๊ะ
ชวนเพื่อนคุย
ก่อกวนเพื่อนที่นั่งข้างๆให้เรียนหนังสือไม่รู้เรื่อง
เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์เช่นนี้
ครูควรจะวิเคราะห์ถึงที่มาของปัญหาเสียก่อนเพื่อไม่ให้พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนี้รุนแรงยิ่งขึ้น
จากนั้นจึงพยายามแก้ไขความต้องการเรียกร้องความสนใจของผู้เรียน
2.การวางมีอำนาจ
ครูจำเป็นต้องพยายามรักษาบรรยากาศในการเรียนให้เป็นเชิงบวกเพื่อควบคุมความประพฤติของผู้เรียนให้ได้
ผู้เรียนบางคนอาจหัวดื้อ ไม่เชื่อฟัง และเเสดงอาการต่อต้านครู
พวกเขาอาจไม่ยอมทำงานที่ครูสั่งให้ทำ
ลืมหนังสทอเรียนไว้ที่บ้าน
ไม่ยอมทำความสะอาดห้องเรียนหลังเลิกเรียน
ครูต้องพยายามแก้ปัญหาโดยใช้ความเชื่อมั่นและเอาใจใส่อย่างจริงใจ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแรงกระตุ้นของพวกเขาเอง
3.ความเเค้น
เมื่อผู้เรียนคิดว่าพวกเขาได้การปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม พวกเขาก็จะเกิดความต้องการที่จะเเก้แค้นครู
โดยเเสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมออกมา เช่น
ลักขโมย ก่อความรุนแรงและทำลายทรัพย์สินของโรงเรียน
เช่นโต๊ะ เก้าอี้และหนังสือที่อยู่ในห้องสมุด
ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมเช่นนี้จะประสบปัญหาในการเข้ากลุ่มและเข้าร่วมกลุ่ม
ครูจะต้องให้ความช่วยเหลือพวกเขาด้วยความเอาใจใส่เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักใช้อำนาจในทางสร้างสรรค์
4.ความไม่พอใจ Dreikurs ได้เสนอกลยุทธ์ 5 ขั้นที่จะรับมือกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเช่นนี้ไว้ดังนี้
สืบให้รู้แน่ชัดถึงแรงกระตุ้นของผู้เรียน
ช่วยเหลือผู้เรียนในการเปลี่ยนจุดมุ่งหมายในทางที่ผิดของพวกเขาให้กลายเป็นสิ่งที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์
ช่วยเหลือผู้เรียนให้เข้าใจเเรงกระตุ้นตนเอง
ให้กำลังใจพวกเขาในการทำให้สำเร็จตามจุดมุ่งหมาย
ช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้ถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
การบำบัดตามความเป็นจริง-โดย Glasser ซึ่งเป็นที่ปรึกษาทางจิตวิทยาเกี่ยวกับเยาวชและผู้เรียนผู้เป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องของการจัดการชั้นเรียนในปี 1984
ทฤษฎีทางเลือก อยู่บนพื้นฐานของเเนวคิดที่ว่าพฤติกรรมของมนุษย์เป็นผลโดยตรงจากความต้องการทางจิตวิทยาพื้นฐาน 4 ประการ
1.ความรัก คล้ายกับความต้องการการยอมรับจากสังคมนั่นเอง ครูอาจส่งเสริมความรู้สึกอยากเป็นเจ้าของได้โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตั้งกฏระเบียบของชั้นเรียน
2.อำนาจและการควบคุม ใกล้เคียงกับการมีอำนาจและการควบคุม คือความรู้สึกมีค่าคือการที่ตัวเองรู้สึกมีความหมายต่อโลก
3.อิสระ ครูและผู้ปกครองจะต้องเปิดโอกาศให้พวกเขามีอิสระแต่ต้องเป็นไปตามขอบเขตที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้การเรียนการสอนดำเนินไปอย่างเป็นระเบียบ
4.ความสนุนสนาน การเรียนการสอนควรดำเนินการไปอย่างน่าสนใจมากกว่านี้เพื่อขจัดความซ้ำซากจำเจ
รูปแบบของระเบียบวินัยและการนำไปประยุกต์ใช้
จะช่วยอธิบายถึงโครงสร้างและความหมายของการจัดการชั้นเรียน
เพื่อให้ครูสามารถนำไปปรับใช้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีเหตุผล
รูปแบบนี้ได้ถูกคินค้นขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญหลายท่านด้วยกัน
โดยเป็นขอบเขตในการทำงานที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในเชิงปฏิบัติ
คำว่า รูปแบบ มีความหมายเดียวกับเทคนิค กลยุทธ์และวิธีการ
สำหรับผู้ที่เป็นครู การจัดการชั้นเรียนถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการเรียนการสอน
การวางแผนเกี่ยวกับกระบวนการในห้องเรียน
โต๊ะครูและบริเวณที่เก้บของผู้เรียน
การคุยกันระหว่างผู้เรียน
การมีส่วนร่วม
กระบวนการ (เเนวปฏิบัติ)
ความสนใจความตั้งใจของผู้เรียนขณะครูสอน
ความสนใจความตั้งใจของผู้เรียนขณะครูสอน
นางสาวรูสลีนา ยูนุ๊ 6220160405 เลขที่ 12