Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู - Coggle Diagram
บทที่ 6
ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
ความสำคัญของภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
ทักษะภาษาอังกฤษ : ความจำเป็นพื้นฐานในวิชาชีพครู
ประเด็นสำคัญในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษคือ การมีวินัยในการฝึกฝนและทำให้การเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นเรื่องสนุกสนาน ย่อมจะนำไปสู่การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษได้อย่างเป็นธรรมชาติ และเกิดประโยชน์ต่อบุคคลรอบข้าง
การพัฒนาวิชาชีพครูสู่สมรรถนะมาตรฐานสากล
กรอบสมรรถนะวิชาชีพครูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กำหนดตัวชี้วัดของแต่ละสมรรถนะไว้อย่างชัดเจน นั่นก็เป็นการประกันคุณภาพของครูไทยได้ในระดับหนึ่งว่ามีแนวทางการประเมินที่สอดคล้องกับสากล และมีคุณภาพมาตรฐานทัดเทียมประเทศเพื่อนบ้าน
สมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
สมรรถนะหลัก (Core Competency)
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน
การบริการที่ดี
การพัฒนาตนเอง
การทำงานเป็นทีม
จริยธรรมและจรรยาบรรณครู
สมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (Functional Competency)
การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การวิเคราะห์ สังเคราะห์และวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
ภาวะผู้นำ
การสร้างความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับชุมชน
การจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
(World- Class Standard School)
และการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล
(World – Class Standard)
ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนที่มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับเดียวกับมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานของประเทศ
การดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
ระดับที่ 1 การบริหารจัดการระบบคุณภาพ ระดับโรงเรียน (School Quality Award : SCQA)
ระดับที่ 2 การบริหารจัดการระบบคุณภาพระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA)
ระดับที่ 3 การบริหารจัดการระบบคุณภาพ ระดับชาติ (Thailand Quality Award : TQA)
ความสำเร็จของการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล
เป้าหมายความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียนเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล มี 5 เป้าหมาย
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World - Class Standard School) คือ โรงเรียนที่เกิดขึ้นจากนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์) ที่ต้องการยกระดับโรงเรียนชั้นนำจำนวน 500 แห่งทั่วประเทศ ที่มีความพร้อมอยู่แล้ว ให้เป็นโรงเรียนดีมีมาตรฐานสากล
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen)
การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่กำลังใกล้เข้ามาทุกที ทำให้บรรดาสถาบันการศึกษาต่างตื่นตัวเตรียมความพร้อมเข้าสู่ช่วงโค้งสุดท้าย หนึ่งในนั้นมี “โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย” ที่ปรับตัวสำเร็จจนกลายเป็นโรงเรียนอาเซียนต้นแบบของไทย