Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นพลเมือง - Coggle Diagram
ความเป็นพลเมือง
ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
ความหมายของความเป็นพลเมือง
และ พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
ประชาชนหรือพลเมืองของรัฐ หรือสังคม ที่มีศักดิ์ศรี มีความเท่าเทียมกับผู้อื่น มีบทบาทในการมีส่วนร่วมทางการเมือง การปกครอง รับผิดชอบทั้งต่อตนเองและต่อสาธารณะหรือส่วนรวม แก้ไขปัญหาและสร้างความเจริญแก่ชาติบ้านเมืองโดยไม่ต้องมีการร้องขอ เพื่อให้เกิดความเสมอภาคเป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพ หน้าที่และความรับผิดชอบอย่างมีคุณธรรม มีระเบียบวินัย รู้จักแสวงหาความรู้ เสียสละเพื่อส่วนรวม
ลักษณะของความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
มีอิสรภาพ (liberty liberty ) และพึ่งตนเองได้(independent )
เคารพสิทธิผู้อื่น ไม่ใช้สิทธิเสรีภาพของตนไปละเมิดสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น
เคารพความแตกต่าง มีทักษะในการฟัง และยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างจากตนเอง
เคารพหลักความเสมอภาค เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น
เคารพกติกา เคารพกฎหมาย
รับผิดชอบต่อสังคม
ความสาคัญของความเป็นพลเมือง
ทาให้สังคมและประเทศชาติมีการพัฒนาไปอย่างมั่นคง
เกิดความรักและความสามัคคีในหมู่คณะ
สังคมมีความเป็นระเบียบ สงบเรียบร้อย
สังคมมีความเป็นธรรม สมาชิกทุกคนได้รับสิทธิ หน้าที่เสรีภาพ ความเท่าเทียมกัน ตามกฎหมาย
สมาชิกในสังคมมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และมีน้าใจต่อกันโดยยึดหลักศีลธรรมเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติต่อกันตามวิถีประชาธิปไตย
ข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของประเทศไทย
1.ประเมินผลหลักสูตรด้านความเป็นพลเมืองทุกระดับ และปรับปรุงหลักสูตรให้วิชาพลเมืองเป็นวิชาแกนกลางการพัฒนาการเรียนรู้ที่บูรณาการในทุกวิชา
2.ส่งเสริมให้เกิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา ด้วยวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้แบบใหม่ในศตวรรษที่ 21
3.จัดให้มีการเทียบโอนผลการเรียน ความรู้และประสบการณ์ ที่ผ่านการเรียนรู้ และประสบการณ์ และกิจกรรมการสร้างความเป็นพลเมือง
4.ส่งเสริมให้เกิดการผลิต พัฒนา และประเมินครู ที่มีสาระของการสร้างความเป็นพลเมืองทั้งระบบ
ส่งเสริม และพัฒนาผู้บริหารให้มีภาวะผู้นา มีคุณลักษณะและพฤติกรรมเป็นต้นแบบของความเป็นพลเมืองที่ดีในสังคมประชาธิปไตย
ส่งเสริมกิจกรรมและให้ความรู้แก่ครอบครัว/พ่อแม่ผู้ปกครอง
ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมและรวมตัวกันของสมาชิกในชุมชนให้เกิดความตระหนักและรับผิดชอบต่อท้องถิ่น ชุมชนและสังคมที่ดารงอยู่
ส่งเสริมให้บุคลากรและหน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามภารกิจของหน่วยเต็มตามศักยภาพ เพื่อสนับสนุนการสร้างพลเมือง
ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคเอกชนมีบทบาทสาคัญในการสร้างความเป็นพลเมือง
ส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ปฏิบัติภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ ที่มีต่อประชาชนและการจัดการศึกษาในท้องถิ่นได้อย่างมีศักยภาพ
ส่งเสริมสนับสนุนองค์กร/สถาบันสังคมอื่นๆให้ดารงบทบาทหน้าที่โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีขององค์กรและสถาบันที่มีต่อเด็ก เยาวชนและประชา
สนับสนุนส่งเสริมให้สื่อมวลชนผู้เปรียบเสมือนครูผู้ให้ความรู้แก่ประชาชน
ส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการเรียนรู้ในสังคมประชาธิปไตย มีความเป็นเจ้าของร่วมกัน
จัดให้มีองค์กร/สนับสนุนองค์กรเพื่อส่งเสริม ยกย่อง และเชิดชูเกียรติผู้ประพฤติตนเป็นพลเมืองที่ดี และหรือองค์กร สถาบันที่สนับสนุนความเป็นพลเมืองที่ดี
จัดให้มีกองทุนสร้างเสริมความเป็นพลเมืองของประชาชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย
จัดให้มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ด้านพลเมืองอย่างต่อเนื่อง และนาไปปรับปรุงและพัฒนาการเรียนรู้เพื่อสร้างความเป็นพลเมืองที่ดีในสังคมประชาธิปไตย
ความเป็นพลเมืองดิจิทัลของครู
5 มิติการเรียนรู้
มิติที่ 1 รู้เท่าทันและใช้เทคโนโลยีเป็น
มิติที่ 2 เข้าใจนโยบาย กฎหมายและมาตรฐาน
มิติที่ 3 ใช้ดิจิทัลเพื่อการประยุกต์และพัฒนา
มิติที่ 4 ใช้ดิจิทัลเพื่อการวางแผน บริหารจัดการ และนาองค์กร
มิติที่ 5 ใช้ดิจิทัลเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์
องค์ประกอบทักษะด้านดิจิทัลสาหรับบุคลากรภาครัฐ
ความสามารถ
พฤติกรรมที่บุคลากรภาครัฐควรแสดงออกเพื่อให้ปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวัง กลุ่มทักษะพื้นฐานที่ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐทุกคนควรได้รับการพัฒนา
ความรู้
ความเข้าใจเชิงวิชาการและวิชาชีพที่ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐควรต้องมีเพื่อให้ปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวังในการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประสบการณ์
สิ่งที่ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเคยปฏิบัติ เคยกระทา เคยสัมผัส หรือได้พบเห็นมาในอดีตที่จะสนับสนุนให้การปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวังในการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ
คุณลักษณะ
นิสัย ความชอบ และแรงจูงใจของบุคลากรที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทางานและความสาเร็จในงาน อันจะมีส่วนสนับสนุนการปฏิบัติตามบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวังในการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์ของการนาทักษะด้านดิจิทัลไปปรับใช้
สาหรับข้าราชการ
ทางานได้รวดเร็วลดข้อผิดพลาดและมีความมั่นใจในการทางานมากขึ้น
มีความภาคภูมิใจในผลงานที่สามารถสร้างสรรค์ได้เอง
สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการทางานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
สามารถระบุทางเลือกและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
สามารถบริหารจัดการงานและเวลาได้ดีมากขึ้น และช่วยสร้างสมดุลในชีวิตและการทางาน
มีเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้และเติบโตอย่างเหมาะสม
ประโยชน์ของการนาทักษะด้านดิจิทัลไปปรับใช้
สาหรับส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ
หน่วยงานได้รับการยอมรับว่ามีความทันสมัย เปิดกว้าง และเป็นที่ยอมรับ ซึ่งจะช่วยดึงดูดและรักีาคนรุ่นใหม่ที่มีศักยภาพสูง มาทางานกับองค์กรด้วย
หน่วยงานได้รับความเชื่อมั่นและไว้วางใจจากประชาชนและผู้รับบริการมากขึ้น
3.คนในองค์กรสามารถใช้ศักยภาพในการทางานที่มีมูลค่าสูง (High Value Job ) มากขึ้น
กระบวนการทางานและการสื่อสารของงองค์กร กระชับขึ้น คล่องตัวมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
หน่วยงานสามารถประหยัดทรัพยากร (งบประมาณและกาลังคน) ในการดาเนินงานได้มากขึ้น
พลเมืองดิจิทัล: พลเมืองแห่งศตวรรษที่ 21
ความหมายของความเป็นพลเมืองดิจิทัล
แนวคิดเกี่ยวกับความเป็นพลเมือง
ความเป็นพลเมืองชาติตามขนบ (traditional citizenship) traditional citizenship) traditional citizenship) traditional citizenship) traditional citizenship) traditional citizenship) traditional citizenship) ให้ความสาคัญกับ “การเป็นสมาชิกภายใต้กฎหมายของรัฐชาติที่ตนสังกัด” หรือที่เรียกว่า “ความเป็นพลเมืองภายใต้กฎหมาย” (legal citizenship) legal citizenship) legal citizenship) สิ่งสาคัญสาหรับการเป็นพลเมืองที่ดีตามแนวคิดนี้คือ การมีความรู้เกี่ยวกับรัฐบาลและหน้าที่พลเมืองตามกฎหมาย เช่น การไปเลือกตั้งและจ่ายภาีี
ความเป็นพลเมืองโลก (global citizenship) global citizenship) global citizenship) global citizenship) global citizenship) แนวคิดความเป็นพลเมืองโลกตระหนักถึงความเชื่อมโยง และการพึ่งพาอาศัยกันในระดับโลก และมีจิตสานึกร่วมถึงปัญหาในระดับโลก เช่น ปัญหาโลกร้อน พลเมืองที่อาศัยในสังคมโลกจึงต้องมีความสามารถและความเข้าใจในระดับโลก
ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (digital citizenship) digital citizenship) digital citizenship) digital citizenship) digital citizenship) digital citizenship) เกี่ยวกับความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อมีส่วนร่วมในสังคมเศรีฐกิจดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบและปลอดภัย สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยไร้ข้อจากัดเชิงภูมิศาสตร์ เข้าร่วมชุมชนที่มีความสนใจ ร่วมกันสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ๆ ในการแก้ไขปัญหา
นิยาม
มิติด้านความรู้เกี่ยวกับสื่อและสารสนเทศ
มิติด้านจริยธรรม
มิติด้านการมีส่วนร่วมทางการเมืองและสังค
องค์ประกอบของพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพ
ความรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) Digital Literacy) Digital
ความรู้ด้านสารสนเทศ
ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างทันท่วงที เข้าใจวิธีการเลือกใช้ คาค้นหรือใช้กลยุทธ์การค้นหาอันหลากหลาย และรู้จักแหล่งข้อมูลที่ดี
รู้เท่าทันว่าเนื้อหาที่พบในโลกออนไลน์ไม่สามารถเชื่อถือได้ทั้งหมด เพราะใครก็เผยแพร่เนื้อหาได้ และสามารถประเมินความถูกต้องและความ น่าเชื่อถือของข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ
จัดการกับข้อมูลได้อย่างเป็นระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
สามารถประยุกต์ใช้ข้อมูลได้อย่างสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ
เข้าใจประเด็นทางจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงและ การใช้ข้อมูล
ความรู้ด้านสื่อ
เข้าใจว่าเนื้อหาในสื่อถูกสร้างขึ้นด้วยวิธีการใดและเพื่อวัตถุประสงค์อะไร
ตรวจสอบได้ว่าคนเราตีความสื่อแตกต่างกันอย่างไร
เข้าใจประเด็นทางจริยธรรมและทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึง และการใช้สื่อ
ความรู้ด้านไอซีที
เข้าใจแนวคิดและการทางานพื้นฐานของเครื่องมือดิจิทัลเช่น เข้าใจคาศัพท์สาคัญของระบบคอมพิวเตอร์
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวัน เช่น ทาธุรกรรมออนไลน์
เลือกใช้เทคโนโลยีได้เหมาะกับวัตถุประสงค์ เข้าใจข้อดีข้อเสียของ เทคโนโลยีที่มีอยู่ในตลาด
รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและรู้จักวิธีใช้เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เข้าใจประเด็นทางจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึง และการใช้ไอซีที
ความรู้อื่นๆในการเป็นพลเมืองดิจิทัล
ทักษะด้านการสื่อสารและการทางานร่วมกับผู้อื่น
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา
ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Intelligence Quotient : DQ)
คุณลักษณะที่ดีของพลเมืองดิจิทัล (Good Digital Cit izens)
การตระหนักถึงความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้อื่น
การเป็นผู้ประกอบการและผู้บริโภคที่มีจริยธรรม
การเป็นผู้ส่งสารและรับสารที่มีมารยาท
การเคารพต่อกฎหมายและกฎระเบียบ
การใช้เทคโนโลยีให้มีความเหมาะสมและไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
เรียนรู้วิธีการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยี