Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 หลักการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้ป่วย, 63e697cea0fe1ab747d29793ffd6f23…
บทที่ 8 หลักการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วยก่อนได้รับยา
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับโรคและยาที่ได้รับ โดยการสอบถามจากผู้ป่วยหรือญาติเกี่ยวกับประวัติการได้รับยา
การตรวจร่างกาย พยาบาลจะต้องประเมินสภาพร่างกายของผู้ป่วยเกี่ยวกับ การมองเห็น การได้ยิน การ
กลืน ระดับความรู้สึกตัว สภาพของผิวหนัง หลอดเลือดดำกล้ามเนื้อและความแข็งแรงของแขนขาน้ำหนักตัว ส่วนสูง และตรวจวัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ ความดันเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ มียาหลายตัวที่ก่อนให้ยา ผู้ป่วยจำเป็นจะต้องได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อเป็นข้อมูลในการประเมินก่อนให้ยา
การวางแผนการให้ยา
ในการให้ยาแก่ผู้ป่วยอย่างปลอดภัย พยาบาลจะต้องวางแผนการให้ยาของผู้ป่วย โดยการ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำสั่งการรักษาของแพทย
คำนวณขนาดของยาที่ผู้ป่วยได้รับ ตรวจสอบชื่อยาและการออกฤทธิ์ของยา
ผลข้างเคียงของยาและอาการไม่พึงประสงค์ของยา ซึ่งจะขอกล่าว
รายละเอียดเฉพาะคำสั่งการรักษาและการคำนวณยา
คำสั่งการรักษาของยา
โดยทั่วไปแล้วแผนการรักษาในเรื่องยาจะกระทำโดยแพทย์ แพทย์จะเขียนคำสั่งยาไว้ในใบสั่งการรักษาหรือใบสั่งยา
องค์ประกอบของคำสั่งการรักษา (Medication Order)
1.1 ชื่อและนามสกุลผู้ป่วย เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการให้ยาที่ผู้ป่วยชื่อซ้ า
กันได้
1.2 วัน เดือน ปี และเวลาที่สั่งยา
1.3 ชื่อยาควรเป็น Generic name หรือ Trade name ที่เขียนชัดเจนและ
ถูกต้อง ซึ่งถ้าพยาบาลมีข้อสงสัยต้องเปิดคู่มือการใช้ยา หรือสอบถามแพทย
1.4. ขนาดของยา อาจเป็นมิลลิกรัม กรัม หรือเกรน โดยทั่วไปใช้ระบบเมตริก
1.5 วิถีทางที่ให้ยาและวิธีการให้ที่เฉพาะ (Route of administration) โดยมาก
ใช้ตัวย่อ
1.6 เวลาและความถี่ในการให้ยา มักเขียนเป็นตัวย่อ
1.7 ลายเซ็นชื่อผู้สั่งยา เพื่อเป็นหลักฐานทางกฎหมาย
การปฏิบัติการให้ยา
ถูกต้องตรงกับผู้ป่วย(Right patient) ตรวจสอบชื่อ และนามสกุลของผู้ป่วยที่ได้รับในใบMAR และต้องถามชื่อ และนามสกุลของผู้ป่วยและดูป้ายข้อมือทุกครั้งให้ตรงกับใบMAR ก่อนให้ยา
ถูกต้องตามชนิดของยา (Right drug) ตรวจสอบชื่อยาในใบ MAR กับซองยาหรือขวดยาให้ถูกต้องตรงกันอย่างน้อย 3 ครั้งคือ ก่อนหยิบยา ก่อนรินยาและก่อนเก็บเข้าตู้ยา
ถูกต้องตามขนาด (Right dose) อ่านและตรวจสอบขนาดยาอย่างละเอียดรอบคอบใน
ใบ MA
ถูกต้องตามเวลา (Right time) ต้องทราบตัวย่อเวลาให้แม่นย า เช่น t.i.d., p.c. ,q.i.dต้องทราบเวลาในการให้ยาในแต่ละแห่งและให้ยาใกล้เวลามากที่สุด คือ ช่วง 15 นาที ก่อนหรือหลังเวลาที่กำหนดไว.
ถูกต้องตามวิถีทาง (Right route หรือ method) ต้องทราบตัวย่อของวิถีทางต่างๆ ที่ให้ยาอย่างแม่นย า เช่น IM, Sc.ให้ยาตรงตามวิถีทางที่แพทย์ให้การรักษา อ่านและตรวจสอบวิถีทาง
บันทึกถูกต้อง (Right documentation)ภายหลังการให้ยา พยาบาลจะต้องลงบันทึกใน แผ่นใบบันทึกการให้ยา(MAR) ชื่อยา ขนาดของยา วิถีทางที่ให้ยา และเวลาที่ให้ยา ในกรณีที่เป็นยาที่ให้เมื่อจำเป็นหรือที่ให้โดยทันทีทันใด
วิธีการให้ยาตามวิถีทางต่างๆ
ทางปาก (Oral medication)
ในกรณีที่เตรียมยาเม็ด ให้ใช้ช้อนตักหรือเทจากภาชนะบรรจุลงในถ้วยยา ห้ามใช้มือหยิบในกรณีที่เตรียมยาน้ำจับขวดยาให้หันด้านที่มีฉลากออกให้ผู้จัดยาเห็นได้ชัด ขณะรินยาทุกครั้ง ยา
น้ำชนิดแขวนตะกอนให้เขย่าขวดทุกครั้งก่อนรินยา เปิดฝาขวดยาวางหงาย มืออีกข้างถือแก้วยกให้
สูง
การให้ยาเฉพาะที่ ( Topic medication)
ข้อควรปฏิบัต
ก่อนทายาทุกครั้งควรท าความสะอาดบริเวณผิวหนังโดยการอาบน้ าเพื่อชะล้างหรือเช็ดถู
แล้วซับให้แห้ง
ในกรณีที่ยาบรรจุอยู่ในหลอด ให้บีบยาจากก้นหลอดช้าๆโดยไม่ให้ปากหลอดสัมผัสกับไม้พันสำลี
การให้ยาทาง Parenteral
ขณะปฏิบัติต้องยึดหลักเทคนิคปราศจากเชื้ออย่างเคร่งครัด ไม่ให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อ
โรค
ไม่เตรียมยาฉีดต่างชนิดกันใส่ในกระบอกฉีดยาอันเดียวกัน เพราะอาจเกิดปฏิกิริยาต่อ
กันได้
ขณะเตรียมยาต้องท าด้วยความระมัดระวังละเอียดรอบคอบ