Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิงเกณฑ์ - Coggle Diagram
อิงเกณฑ์
รายฉบับ
ค่าความเที่ยงตรง
หรือความตรง (validity)
2.1 เชิงเนื้อหา
หาดัชนีความสอดคล้องระหว่าง
ข้อคำถามกับจุดประสงค์
2.2 เชิงโครงสร้าง
วิธีของคาเวอร์
ใช้อัตราส่วนระหว่างผลรวมของ
การสอบก่อนสอนที่ไม่ผ่านเกณฑ์
กับ การสอบหลังสอนที่ผ่านเกณฑ์
สหสัมพันธ์แบบฟี
ตัวแปรระยะเวลาสอบ
สอบก่อนเรียน
สอบหลังเรียน
ตัวแปรผลของการสอบ
ไม่ผ่านเกณฑ์
ผ่านเกณฑ์
2.3 ตามเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
ความเที่ยงเชิงสภาพ
ความเที่ยงเชิงพยากรณ์
ความเชื่อมั่นหรือความเที่ยง (Realiability)
3.3 หาความคงที่ของความรู้
(stability reliability)
นำแบบทดสอบมาทดสอบซ้ำ 2 ครั้ง
นำมาหาคะแนนความคงที่ใช้สูตรชรอค
การรอบรู้
ไม่รอบรู้
3.2 สอดคล้องในการตัดสินใจ
(Decision consistency Reliability)
หาความสอดคล้อง
ระหว่างการทดสอบ 2 ครั้ง
แบบทดสอบฉบับเดียว
แบบทดสอบคู่ขนาน
3.1 ความเที่ยงตรวจหาความสอดคล้องภายในจากคะแนนผู้เรียนแต่ละคนที่แปรปรวนไปจากคะแนนจุดตัด
ใช้แบบทดสอบจำนวน 1 ฉบับ
ทดสอบกับผู้เรียนกลุ่มเดียวครั้งเดียว
คำนวณหาค่าความเที่ยงของโลเวท
รายข้อ
การหาอำนาจจำแนก
1.1การหาค่าความไว
(Sensitivity to instructional)
จำแนกผลการเรียนก่อนสอนกับหลังสอน
เกณฑ์การพิจารณาอำนาจ
มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ -1 ถึง +1
ค่าที่ควรพิจารณา
ตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.80
ยิ่งสูงเท่าไรยิ่งดี
1.2 การหาค่าดัชนีอำนาจจำแนกบี
(Brennan Index)
ใช้หลักการจำแนกกลุ่ม
ที่ผ่านเกณฑ์กับไม่ผ่านเกณฑ์
มีคะแนนจุดตัดมากำหนดกลุ่มผ่านและไม่ผ่าน