Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู, นางสาวมัลลิกา อ่อนประชู…
บทที่ 6
ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
การพัฒนาวิชาชีพครูสู่สมรรถนะมาตรฐานสากล
กรอบสมรรถนะวิชาชีพครูในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประเมินความต้องการในการเรียนรู้ที่มีอยู่จริง
จัดระบบของวัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ครอบคลุมถึงความรู้ ทักษะความถนัดและค่านิยม
จัดเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตร และระยะเวลา
จัดเตรียมแผนการสอนโดยคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน
เลือกวิธี สอนที่เหมาะสม กับรายวิชาและระดับผู้เรียน
เลือกอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน อย่างเหมาะสม
กำหนดมาตรการการประเมินผลที่เหมาะสม
นําผลการประเมินผู้เรียน และข้อคิดเห็นของผู้สอนมาพัฒนาแผนการสอน
การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
สนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ปลอดภัย สะอาด เป็นระเบียบ
ส่งเสริมสภาพ แวดล้อมที่เอื้ออาทร และเรียนรู้อย่างเป็นมิตร
จงใจให้เกิดการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น
ส่งเสริมการรักษามาตรฐาน ระดับสูงของสมรรถนะการเรียนรู้
เคารพในความหลากหลายของผู้เรียน
คงสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ แบบร่วมมือกัน
การพัฒนาและการใช้ทรัพยากรสำหรับ
การเรียนการสอน ประกอบด้วยภาระงาน
และความสามารถเฉพาะ
แสวงหาความรู้และทักษะการใช้ทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน
พัฒนาสื่อ การเรียนการสอน ที่เหมาะสมกับบทเรียน
ใช้สื่อระหว่างจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ
บูรณาการ ICT กับการเรียนการสอน
ติดตาม และประเมินผลการใช้สื่อการเรียนการสอน
การพัฒนาทักษะการจัดลำดับความคิด
ในระดับสูง ประกอบด้วยภาระงาน
และความสามารถเฉพาะ
เตรียมสร้างทักษะและยุทธศาสตร์
พัฒนาทักษะ HOTS แก่ผู้เรียน
พัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
พัฒนาทักษะ การคิดแบบพินิจพิเคราะห์
พัฒนาทักษะการคิดเหตุผลตรรกะ
พัฒนาทักษะแกปัญหา และตัดสินใจ
เสริมสร้าง HOTS ในผู้เรียน
ประเมิน HOTS ของผู้เรียน
การอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
สร้างความรอบรู้ในสาระวิชา
กำหนดยุทธศาสตร์การสอนที่สอดคล้องกับรูปแบบ
และเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้นของผู้เรียน
สื่อสารอย่างสอดคล้องกับระดับของผู้เรียน
ส่งเสริมให้ผู้เรียนร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้
ใช้การตั้งคำถาม และทักษะการปฏิสัมพันธ์
บูรณาการ HOTS กับบทเรียน
สร้างวิธีสอนในบริบทของท้องถิ่น
บริหารจัดการกิจกรรมในชั้นเรียน
การส่งเสริมค่านิยมด้านศีลธรรมและจริยธรรม
ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
กำหนดหลักเกณฑ์ จริยธรรมวิชาชีพของครูในแต่ละประเทศ
ยกระดับและสร้างหลักเกณฑ์ด้านจริยธรรมวิชาชีพครู
ให้ความรู้แก่ผู้เรียน และครูผู้ช่วยสอนในเรื่อง
ค่านิยมจริยธรรมและศีลธรรม
ส่งเสริมการพัฒนาชีวิต และทักษะวิชาชีพแก่ผู้เรียน
ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
ให้ความรู้ สร้างทักษะ และความถนัด รวมถึง ค่านิยมของศตวรรษที่ 21
ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนในด้านการเรียนเพื่อให้รูจัก ความรู้ ทักษะ ความถนัด และค่านิยม
ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนในด้านการเรียนเพื่อใช้ความรู้ ทักษะ ความถนัด และค่านิยม
ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนเพื่อเป็นผู้มีความรู้ ทักษะ ความถนัดและค่านิยม
ส่งเสริมพัฒนาการ ของนักเรียนให้อยู่อย่างมีความรู้ ทักษะ ความถนัดและค่านิยม (ความฉลาดทางอารมณ์)
การวัดและประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน
ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
ค้นคว้า ความรู้/ทักษะ เกี่ยวกับการทดสอบ และประเมินผล
พัฒนาความรู้ และรวบรวมเครี่องมือสำหรับการประเมิน
ประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้เครื่องมือวัดที่เหมาะสม
นำผลที่ได้จากการประเมินไปใช้
พัฒนาด้านวิชาชีพ ประกอบด้วยภาระงาน
และความสามารถเฉพาะ
วิเคราะห์เพื่อให้ทราบความต้องการในการพัฒนา
จัดเตรียมแผนการพัฒนาด้านวิชาชีพของแต่ละคน
จัดกิจกรรมการพัฒนาด้านวิชาชีพ
พิจารณาถึงความสอดคล้องของกิจกรรม
การพัฒนาที่จัดขึ้นกับความต้องการ
มีการนำไปใช้ แบ่งปัน และเผยแพร่องค์ความรู้ และทักษะที่ได้รับจากกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพและการศึกษาดูงาน
ทำหน้าที่พี่เลี้ยง แก่นักเรียน/ครู ใหม่
ประเมินผลกระทบ ของกิจกรรมการพัฒนาด้านวิชาชีพที่จัดขึ้น
การสร้างเครือข่ายกับผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะผู้ปกครองนักเรียน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
ส่งเสริมทักษะ ด้านการประชาสัมพันธ์
พัฒนาความเป็นหุ้นส่วนกับผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้อง
แบ่งปันความรับผิดชอบแก่ชุมชนในการจัดการศึกษาแก่นักเรียน
เข้าร่วมกิจกรรมด้านสังคม กับชุมชน
การจัดสวัสดิการและภารกิจแก่นักเรียน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
แนะนำ และให้คำปรึกษาแก่นักเรียน
พัฒนาการให้คำปรึกษา และทักษะอื่นในแบบบูรณาการ
จัดและสนับสนุนกิจกรรมด้านสังคม และหลักสูตรเสริม
ช่วยเหลือ ผู้เรียนในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
ดำเนินการบริหารจัดการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการพัฒนาผู้เรียน
ให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
(สพฐ.) ทำให้มีการปรับโครงสร้างหลักสูตรใหม่
ให้สอดรับกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
จุดเริ่มต้นดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการเพิ่มวิชาอาเซียนศึกษาไปในหลักสูตร มีคาบเรียน 16 ชั่วโมงต่อเทอม หรือ 0.5 หน่วยกิต
เริ่มนำร่องสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม.3) โดยเนื้อหาได้ประยุกต์มาจากหลักสูตรแกนกลางอาเซียน หรือ ASEAN Curriculum Source Book แต่จัดทำรูปเล่มและเนื้อหาให้มีความน่าสนใจ
“วิชาอาเซียนศึกษาของเราจะให้ครูประจำชั้นเป็นผู้สอน ไม่ว่าจะเป็นครูคณิตศาสตร์หรือครูพละก็สอนได้ เพราะมีแนวคิดว่า ต้องนำหลักสูตรและความรู้เกี่ยวกับอาเซียนศึกษามาบูรณาการ
ความสำคัญของภาษาต่างประเทศ
กับการพัฒนาวิชาชีพครู
ทักษะภาษาอังกฤษ
หมั่นเข้าหาแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษ
สอดแทรกสอนภาษาอังกฤษในวิชาที่รับผิดชอบ
ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
จัดตารางและมีวินัยฝึกฝนต่อเนื่อง
สร้างแรงจูงใจพัฒนาภาษาอังกฤษให้ตนเอง
รวมตัวพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
สมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21
ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
สมรรถนะหลัก
(Core Competency)
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน
การบริการที่ดี
การพัฒนาตนเอง
การทำงานเป็นทีม
จริยธรรมและจรรยาบรรณครู
สมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน
(Functional Competency)
การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การวิเคราะห์ สังเคราะห์และวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
ภาวะผู้นำ
การสร้างความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับชุมชน
การจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล
โรงเรียนต้องเป็นหน่วยบริการทางการศึกษาในมิติที่กว้างขึ้น
หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นสากลมากขึ้น
ต้องมีการพัฒนาทักษะการคิดมากขึ้น
ต้องมีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น
การสอนภาษาต่างประเทศต้องมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.1 ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับเดียวกับมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานของประเทศชั้นนำที่
3.2 การดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
เพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอนให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล
เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรียนให้มีการบริหารด้วยระบบคุณภาพ
3.3 ความสำเร็จของการดำเนินงาน
โรงเรียนมาตรฐานสากล
เป้าหมายความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียนเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล มี 5 เป้าหมาย แต่ละเป้าหมายจะมีตัวชี้วัดความสำเร็จที่แตกต่างกันไป ในแต่ละปีการศึกษาโรงเรียนหรือผู้ดำเนินการอาจพิจารณาปรับ ลด เพิ่ม ตัวชี้วัดให้มีความเหมาะสม
3.4 โรงเรียนมาตรฐานสากล (
World-Class Standard School)
ความสำเร็จของเยาวชนไทย ที่จะผ่านการเพาะบ่มจากโรงเรียนทางเลือกใหม่ "โรงเรียนมาตรฐานสากล" สถานศึกษาที่จะทำให้ผู้เรียนเป็นเยาวชนโลก ซึ่งเป็นบุคคลผู้มีคุณภาพ และมีความสามารถก้าวไกลในระดับสากล
นางสาวมัลลิกา อ่อนประชู รหัสนิสิต 60206699