Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 หลักการพยาบาลในการ ให้ยาแก่ผู้ป่วย, image, image, image, image,…
บทที่ 8 หลักการพยาบาลในการ
ให้ยาแก่ผู้ป่วย
การใช้ยาสมเหตุผลคือ ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพ
โดยใช้ยาในขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละรายระยะเวลาที่เหมาะสม
มีค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อยที่สุด
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในการบริหารยา ตามหลัก 10R
ทราบประวัติการแพ้ยาผู้ป่วย
ประเมินภาวะเจ็บป่วย อาการ
คำนึงหลักความถูกต้องการให้ยา (10R)
ช่วยให้ผู้ป่วยรับยาได้ง่าย
ประเมินประสิทธิภาพยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังให้ยา
อธิบายวิธีการให้ยา ขนาด เวลาที่ให้อย่างชัดเจน
จัดเก็บรักษายาให้เหมาะสม
แยกจัดเก็บยาเสพติด มีกุญแจล็อก และตรวจเช็คทุกเวร
ถ้าให้ยาผิดต้องเเจ้งพยาบาลหัวหน้าเวรหรือแจ้งแพทย์ทันที
Right drug/Right Medicine: การให้ยาถูกชนิด
Right Dose: ให้ยาขนาดถูกต้อง
Right time : ให้ตรงตามเวลา
Right route: ให้ถูกทาง
Right patient : ให้ผู้ป่ วยถูกคน
Right education : การให้ความรู้ถูกต้อง
Right documentation : บันทึกถูกต้อง
Right to refuse : สิทธิในปฏิเสธยา
Right assessment : ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาและ
ประเมินถูกต้อง
Right drug-drug interaction and evaluation :
การตรวจสอบปฏิกิริยาระหว่างกันของยา และประเมินถูกต้อง
ตัวอย่างการเรียกชื่อยา
ชื่อทางเคมี Acetylsalicylic acid
ชื่อทั่วไป Aspirin
ชื่อทางราาชการ Aspirin
ชื่อทางการค้า Aspenter® , Bufferin ®
คำสั่งการใช้ยา
Standing orders สั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป จนกว่าจะ
ยกเลิกคำสั่งใช้ยา เช่น ให้ยาปฏิชีวนะชนิดเม็ด ขนาด 250 มิลลิกรัม ทางปากก่อนอาหาร ทุก 6 ชั่วโมง เป็นเวลา 5 วัน
PRN orders สั่งให้เมื่อผู้ป่วยต้องการ ประเมินตามความจำเป็น เช่น ให้ยาแก้ปวดพาราเซตตามอล ขนาด 500 มิลลิกรัม
เมื่อมีอาการปวดทุก 6 ชั่วโมง
Single order / one time order สั่งให้ยาครั้งเดียว
ในเวลาที่จำเพาะเจาะจง เช่น การให้ยาระบายก่อนการ
ส่องกล้องตรวจระบบทางเดินอาหาร
Stat order สั่งให้ทันที หรือเร่งด่วน เช่น ให้ยาน้ำโปแตส
เซียมคลอไรด์ 30 มิลลิลิตรครั้งเดียวเพื่อแก้ไขค่าโปแทส
เซียมและคลอไรด์ในเลือดต่ำ
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในการบริหารยา ตามหลัก 10R
ส่วนประกอบของคำสั่งยา
ชื่อผู้ป่วย
วัน เวลาที่เขียนคำสั่ง
ชื่อยาและรูปแบบของยา
ขนาดยา
ทางที่ให้ยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลายเซ็นแพทย์ผู้สั่ง
ทางที่ให้ยา
ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ Intravenous IV
ฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ Intramuscular IM
ฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง Subcutaneous SC
ฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง Intradermal ID
รับประทานยาทางปาก Per oral PO
ให้ยาทางสายให้อาหาร Tube feeding TF
ให้ยาอมใต้ลิ้น Sublingual SL
ให้สอดยาทางทวารหนัก Rectal Suppository
Rectal Suppo.
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ก่อนอาหาร Ante cibum a.c.
หลังอาหาร Post cibum p.c.
ก่อนนอน Hora somni h.s.
วันละครั้ง Omni die OD
วันละ 2 ครั้ง Bis in die b.i.d
วันละ 3 ครั้ง Ter in die t.i.d
วันละ 4 ครั้ง Quarter in die q.i.d
เป็นครั้งคราวเมื่อจ าเป็น Pro re nata p.r.n
ทันทีทันใด Statim stat
ทุก 6 ชั่วโมง Quaque 6 hora q 6 hr
วิธีการให้ยา
การให้ยาทางปาก
การเตรียมยา
น้ำยา
ยาแขวนตะกอน
ยาผง
ให้ยาเเล้วดื่มน้ำตาม 60 - 100 cc
ยาอมใต้ลิ้น ยาอมข้างกระะพุ้งเเก้ม
ยาทางสายยาง ให้น้ำก่อน 30cc เเละให้ยาเสร็จค่อยให้น้ำ 30-60cc
ยาทาทางผิวหนัง
ยาพ่น ยาขี้ผึ้ง ยาผง
การเหน็บยา
การเหน็บยาทางช่องคลอด
ลึกประมาณ 1.5-2 นิ้ว
การเหน็บยาทางทวารหนัก ผู้ใหญ่สอดยาลึก 4 นิ้ว เด็ก 1.5-2 นิ้ว
ยาหยอดทางหู/จมูก/ตา
และยาป้ายตา
ยาหยอดทางหู นอนเอียงศรีษะ ผู้ใหญ่ดึงหูไปข้างหลัง
เเล้วดึงขึ้น เด็กดึงหูไปข้างหลังเเล้วดึงลง บีบน้ำยา 2-3 หยด
การหยอดยาทางจมูก นอนหงาย ศรีษะต่ำกว่าขอบเตียง
บีบน้ำยา 2-3 หยด
การหยอดตา ลืมตา มองขึ้นข้างบน ดึงเปลือกตาล่างลง
บีบน้ำยาหยด 1-2 หยด เเล้วกลอกตาไปมา
การป้ายตา ดึงหนังตาล่างลง ป้ายจากหัวไปหาง
ยาสูดดม หรือพ่น
การสูดดมทางปาก พ่นยาเขย่า 5-4 ครั้ง
การสูดดมทางจมูก ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจเข้า
ทางจมูกลึก ๆ ก่อนสูดยาและกลั้นหายใจชั่วครู่
ตอนสุดของการหายใจเข้าและออกทางปากช้าๆ