Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายรัฐธรรมนูญ มาตรา 107-131 - Coggle Diagram
กฎหมายรัฐธรรมนูญ มาตรา 107-131
มาตรา ๑๐๗ วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจํานวนสองร้อยคน ซึ่งมาจากการเลือกกันเอง
มาตรา ๑๐๘ สมาชิกวุฒิสภาต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๑๐๙อายุของวุฒิสภามีกําหนดคราวละห้าปี นับแต่วันประกาศผลการเลือกเมื่ออายขุ องวุฒิสภาสิ้นสุด
ลง ให้สมาชิกวุฒิสภาอยู่ในตําแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีสมาชิกวุฒิสภาข้ึนใหม
มาตรา ๑๑๐เมื่ออายขุ องวุฒิสภาสิ้นสุดลง ใหม้ีการเลือกสมาชิกวุฒิสภาใหม่ตามมาตรา ๑๐๗วรรคห้า
มาตรา ๑๑๑ สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลง เมื่อ
(๑)ถึงคราวออกตามอายขุ องวุฒิสภา
(๒) ตาย (๓) ลาออก(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๐๘
(๕) ขาดประชุมเกินจํานวนหนึ่งในสี่ของจํานวนวันประชุมในสมัยประชุมที่มีกําหนดเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่ง
ร้อยยี่สิบวันโดยไม่ได้รับอนุญาตจากประธานวุฒิสภา
(๖) ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก แม้จะมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็ นการรอการลงโทษในความผิดอัน
ได้กระทาํโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
(๗) กระทําการอันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา ๑๑๓ หรือกระทําการอันต้องห้ามตามมาตรา ๑๘๔ หรือมาตรา ๑๘๕
(๘) พ้นจากตําแหน่งเพราะเหตุตามมาตรา ๑๔๔ หรือมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม
มาตรา ๑๑๒ บุคคลผู้เคยดํารงตําแหน่งสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแลว้
ยงัไม่เกินสองปีจะเป็นรัฐมนตรีหรือผดู้าํรงตาํแหน่งทางการเมืองมิได้เวน้แต่เป็นสมาชิกสภาทอ้งถิ่น หรือ
ผบู้ริหารทอ้งถิ่น
มาตรา ๑๑๓ สมาชิกวุฒิสภาต้องไม่ฝักใฝ่ หรือยอมตนอยู่ใต้อาณัติของพรรคการเมืองใด ๆ
ส่วนที่๔ บทที่ใชแ้ก่สภาท้งัสอง
มาตรา ๑๑๔ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาย่อมเป็ นผู้แทนปวงชนชาวไทย ไม่อยู่ในความ
ผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงําใด ๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
มาตรา ๑๑๕ ก่อนเขา้รับหนา้ที่สมาชิกสภาผแู้ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาตอ้งปฏิญาณตน ในที่ประชุม
แห่งสภาที่ตนเป็ นสมาชิกด้วยถ้อยคํา
มาตรา ๑๑๖ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาแต่ละสภา มีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานสภา คนหนึ่ง
หรือสองคน ซ่ึงพระมหากษตัริยท์ รงแต่งต้งัจากสมาชิกแห่งสภาน้นั ๆ ตามมติของสภา
มาตรา ๑๑๗ ประธานและรองประธานสภาผแู้ทนราษฎรดาํรงตาํแหน่งจนสิ้นอายขุ อง สภาผแู้ทนราษฎร
หรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร
มาตรา ๑๑๘ ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานและรองประธานวุฒิสภา ย่อมพ้นจาก
ตาํแหน่งก่อนวาระตามมาตรา ๑๑๗ เมื่อ
(๑) ขาดจากสมาชิกภาพแห่งสภาที่ตนเป็ นสมาชิก
(๒) ลาออกจากตําแหน่ง
(๓) ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือข้าราชการการเมืองอื่น
(๔) ตอ้งคาํพิพากษาใหจ้าํคุกแมค้ ดีน้นั จะยงัไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เวน้แต่ เป็ นกรณีที่คดียังไม่
ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐาน
หมิ่นประมาท
มาตรา ๑๑๙ ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภามีหนา้ที่และอาํนาจดาํ เนินกิจการของสภาน้นั ๆ
ให้เป็ นไปตามข้อบังคับ
มาตรา ๑๒๐การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่ง
หน่ึงของจาํนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่
มีอยู่ของแต่ละสภา
มาตรา ๑๒๑ ภายในสิบหา้วนั นบัแต่วนั ประกาศผลการเลือกต้งัสมาชิกสภาผแู้ทนราษฎร
อนั เป็นการเลือกต้งั
ทวั่ ไป ใหม้ีการเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อใหส้ มาชิกไดม้าประชุมเป็นคร้ังแรกในปีหน่ึงให้มีสมยัประชุมสามญั
ของรัฐสภาสองสมัย ๆ หนึ่งให้มีกําหนดเวลาหนึ่งร้อยยี่สิบวัน แต่พระมหากษัตริย์จะโปรดเกล้าโปรด
กระหม่อมให้ขยายเวลาออกไปก็ได้การปิดสมยัประชุมสามญั ประจาํปีก่อนครบกาํหนดเวลาหน่ึงร้อยยสี่ ิบ
วัน จะกระทําได้ก็แต่โดยความเห็นชอบของรัฐสภา
มาตรา ๑๒๒ พระมหากษัตริย์ทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปิ ดและทรงปิ ดประชุม พระมหากษัตริย์จะเสด็จ
พระราชดาํ เนินมาทรงทาํรัฐพิธีเปิดประชุมสมยัประชุมสามญั ประจาํปีคร้ังแรกดว้ยพระองคเ์อง
มาตรา ๑๒๓ สมาชิกสภาผแู้ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาท้งัสองสภารวมกนั หรือสมาชิก สภา
ผแู้ทนราษฎร มีจาํนวนไม่นอ้ยกวา่ หน่ึงในสามของจาํนวนสมาชิกท้งัหมดเท่าที่มีอยขู่ องท้งัสองสภา
มีสิทธิ
เข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาให้นําความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศเรียก ประชุม
ัฐสภาเป็ นการประชุมสมัยวิสามัญได้
ให้ประธานรัฐสภานําความกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
มาตรา ๑๒๔ ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ที่ประชุมวุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา
สมาชิกผู้ใด
จะกล่าวถ้อยคําใดในทางแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็นหรือออกเสียงลงคะแนน
ย่อมเป็ นเอกสิทธิ์ โดย
เด็ดขาด ผใู้ดจะนาํไปเป็นเหตุฟ้องร้องวา่ กล่าวสมาชิกผนู้้นั ในทางใด ๆ มิได้
มาตรา ๑๒๕ ในระหว่างสมัยประชุม ห้ามมิให้จับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรหรือ
สมาชิกวุฒิสภาไปทาํการสอบสวนในฐานะที่สมาชิกผนู้้นั เป็นผตู้อ้งหาในคดีอาญา
เว้นแต่จะได้รับอนุญาต
จากสภาที่ผนู้้นั เป็นสมาชิก
หรือเป็ นการจับในขณะกระทําความผิด
มาตรา ๑๒๖ในระหว่างที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎรไม่วา่ ดว้ยเหตุสภาผแู้ทนราษฎรสิ้นอายุสภาผแู้ทนราษฎร
ถูกยุบ หรือเหตุอื่นใด จะมีการประชุมวุฒิสภามิได้
มาตรา ๑๒๗ การประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมร่วมกัน ของรัฐสภา ย่อมเป็ น
การเปิ ดเผยตามลักษณะที่กําหนดไว้ในข้อบังคับการประชุมแต่ละสภา
มาตรา ๑๒๘ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีอํานาจตราข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือก และการ
ปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา เรื่องหรือกิจการอันเป็ นหน้าที่และอํานาจของ
คณะกรรมาธิการสามัญแต่ละชุด
การปฏิบัติหน้าที่และองค์ประชุมของคณะกรรมาธิการ วิธีการประชุม การ
เสนอและพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติ การเสนอญัตติ การ
ปรึกษาการอภิปรายการลงมติการบนั ทึกการลงมติการเปิดเผยการลงมติการต้งักระทูถ้าม การเปิดอภิปราย
ทวั่ ไป การรักษาระเบียบและความเรียบร้อยและการอื่นที่เกี่ยวขอ้ง
มาตรา ๑๒๙ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีอาํนาจเลือกสมาชิกของแต่ละสภาต้งัเป็น คณะกรรมาธิการ
สามญ
และมีอาํนาจเลือกบุคคลผเู้ป็นสมาชิกหรือมิไดเ้ป็นสมาชิก ต้งัเป็นคณะกรรมาธิการวิสามญั หรือ
คณะกรรมาธิการร่วมกันตามมาตรา ๑๓๗ เพื่อกระทํากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด
ๆ และรายงานให้สภาทราบตามระยะเวลาที่สภากําหนด
มาตรา ๑๓๐ใหม้ีพระราชบญั ญตัิประกอบรัฐธรรมนูญ ดงัต่อไปน้
มาตรา ๑๓๐ใหม้ีพระราชบญั ญตัิประกอบรัฐธรรมนูญ ดงัต่อไปน้ี
(๑) พระราชบญั ญตัิประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ดว้ยการเลือกต้งัสมาชิกสภาผแู้ทนราษฎร
(๒) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
(๓) พระราชบญั ญตัิประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ดว้ยคณะกรรมการการเลือกต้งั
(๔) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง
(๕) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน
(๖) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
(๗) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
(๘) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
(๙) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
(๑๐) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
มาตรา ๑๓๑ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะเสนอได้ก็แต่โดย
(๑) คณะรัฐมนตรี โดยข้อเสนอแนะของศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง
(๒)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจํานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจาํนวนสมาชิกท้งัหมดเท่าที่มีอยู่
ของสภาผู้แทนราษฎร