Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Lymphatic circulatory system ระบบน้ำเหลือง, นางสาวอัชริญา ศรีวรสาร…
Lymphatic circulatory system ระบบน้ำเหลือง
น้ำเหลือง (lymphlymph)
หลอดน้าเหลือง (lymphatic vessels
Main lymphatic ducts
1 . Thoracic duct รับน้าเหลืองจากช่องท้อง ช่องเชิงกราน ขา และครึ่งซีกซ้ายของบริเวณศีรษะ คอ หน้าอก โดยหลอดน้าเหลืองขนาดใหญ่นี้ ตั้งต้นจากCisterna chylichyli
Right lymphatic duct รับน้าเหลืองจากส่วนของร่างกายที่เหลือจากที่ระบายสู่ thoracic duct ได้แก่ แขนขวา ศีรษะ คอ อก ครึ่งซีกขวา
หลอดน้าเหลืองเริ่มต้นจากหลอดน้าเหลืองฝอย (lymph
capillary) ที่มีลักษณะเป็นท่อขนาดเล็กปลายตัน มีผนังบางและขนาดใหญ่กว่าหลอดเลือดฝอย ซึ่งแทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อกับหลอดเลือ
พบได้เกือบทุกบริเวณของร่างกายที่มีหลอดเลือดไปเลี้ยง ยกเว้นกระดูก ฟัน และไขกระดูก) และอวัยวะที่ไม่มีเลือดไปเลี้ยง ได้แก่ กระดูกอ่อน หนังกาพร้า และกระจกตา จะไม่พบหลอดน้าเหลืองฝอย
เซลล์ที่ผนังหลอดน้าเหลืองฝอยจะวางซ้อนทับกัน ทาให้เกิดลักษณะคล้ายลิ้นเล็กๆ ที่ช่วยบังคับให้ของเหลวสามารถเข้าไปภายในหลอดน้าเหลืองเพียงทางเดียว
เนื้อเยื่อน้าเหลือง ได้แก่ ต่อมทอลซิล (tonsiltonsil)
การจัดเรียงตัวของเนื้อเยื่อน้าเหลือง
ชนิดกระจาย (Diffuse lymphoid tissue tissue) กระจายอยู่อย่างหลวมๆ พบที่ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร
ชนิดกลุ่ม (Lymphoid follicles หรือ lymphatic nodules nodules) อยู่เป็นก้อนกลมๆในชั้น
ต่อมทอนซิล (T onsil)
ต่อมทอนซิลเป็นอวัยวะน้าเหลืองตั้งอยู่ส่วนหลังของช่องปากและคอ มีเยื่อหุ้มภายนอก เยื่อนี้จะแทรกลึกลงในเนื้อทอนซิล
lymphocytes
B cell (Bone marrow derived) พบประมาณ 10-15 เปอร์เซนต์ ของcirculating lymphocytes ถ้า B cells cellsถูกกระตุ้นจะเปลี่ยนไปเป็น Plasma cells ( สร้าง antibodies)
NK cell (Natural Killers) พบประมาณ 5-10 ของcirculating lymphocytes มีหน้าที่กาจัดเซลล์แปลกปลอม หรือเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสหรือเซลล์มะเร็ง
T cell (Thymus dependent) พบประมาณ 80 เปอร์เซนต์
Cytotoxic T cells มีหน้าที่กาจัดเซลล์แปลกปลอม หรือเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส
Helper T cells มีหน้าที่ช่วยกระตุ้นทั้ง T และB cells
Suppressor T cells cellsมีหน้าที่ยับยั้งการทางานของ T และB cells
อวัยวะน้าเหลือง (lymphoid organs organs) ได้แก่ ต่อมน้าเหลือง (lymph nodes nodes) ม้าม (spleenspleen) ไธมัส(thymusthymus)
. ต่อมไทมัส(Thymus
cortex
immature and mature T lymphocyte ที่อยู่ติดกัน อย่างหนาแน่น
medulla
T lymphocyte จานวนน้อยกว่า มีขนาดกลางและขนาด ใหญ่ทาให้เซลล์ติดสีจางกว่า cortex
ฮอร์โมนที่สร้าง:ไทโมซิน(thymosin
หน้าที่:Stimulates the maturation of T lymphocytes by surface antigen
ม้าม (Spleen)
หน้าที่ของม้าม
สร้าง lymphocytes และ plasma cells
ทาลายเม็ดเลือดแดงที่แก่แล้ว
แหล่งเก็บสะสมธาตุเหล็กที่เกิดจากการสลายเฮโมโกลบิน และเก็บสะสมเลือดไว้เมื่อร่างกายต้องการเลือดเพิ่มขึ้น
สร้างภูมิคุ้มกันโรค และทาลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
สร้างเม็ดเลือดแดงขณะเป็นทารกในครรภ์
ต่อมน้ำเหลือง
มีลักษณะเป็นรูปไข่ หรือเม็ดถั่ว มีขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วไปในร่างกาย พบมากได้แก่ เต้านม รักแร้ ขาหนีบ
ด้านที่โค้งนูนมีหลอดนาน้าเหลืองเข้าเรียกว่า Afferent lymphatic vessel
ด้านเว้ามีหลอดนาน้าเหลืองออกเรียกว่าEfferent Lymphatic vessel
เนื้อชั้นนอก ( Cortex ) เป็นส่วนที่มีสีเข้มประกอบด้วยเซลล์หนาแน่oส่วนใหญ่เป็นพวก
เนื้อชั้นใน (medullamedulla) ติดสีจางมีเซลล์จัดเรียงตัวคล้ายกิ่งไม้กระจายอยู่ทั่วไปส่วนนี้
Medullary cord ประกอบด้วย Lymphocyte และ Plasma cell
Medullary sinus ประกอบด้วย macrophage
หน้าที่ของต่อมน้าเหลือง
สร้างและเป็นแหล่งที่อยู่ของเซลล์เม็ดเลือดขาว
สร้างภูมิต้านทาน และกาจัดสิ่งแปลกปลอมที่ปนมากับน้าเหลือง
หน้าที่ของต่อมน้ำเหลือง
สร้างเม็ดเลือดขาวบางชนิด (lymphocytes)
รวบรวมของเหลว และสารละลายจากเนื้อเยื่อ เพื่อนำเข้าสู่ระบบหลอดเลือด
สร้างภูมิคุ้มกันโรค และกรองน้ำาเหลืองโดยการกาจัดสิ่งแปลกปลอมที่ปนมากับน้ำเหลือง
นางสาวอัชริญา ศรีวรสาร คณะพยาบาลศาสตร์ รหัสนิสิต 63010410025