Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสงเสริมครูในเรื่องของประเด็นและทักษะพื้นฐานในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน,…
การสงเสริมครูในเรื่องของประเด็นและทักษะพื้นฐานในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน
ความหมายการให้คำปรึกษา
คุณภาพของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างการตลอดจนปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
ทักษะที่จำเป็นในการให้คำปรึกษา
ทักษะในการเป็นผู้ฟังที่ดี
ศิลปะในการเอาใจใส่
ทักษะในการมีส่วนร่วม
ศิลปะในการสืบสวนเรื่องราว
การช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักท้าทายกันเอง
การให้คำปรึกษา
เป็นกระบวนการที่ครูจะให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียนในการจัดการกับ ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยความร่วมมือระหว่างครูกับผู้เรียน ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถและแรงจูงใจของทั้งครูและผู้เรียน
ประเด็นและหลักจริยศาสตร์ที่สำคัญในการให้คำปรึกษา
หลักจริยศาสตร์ หมายถึง ระบบของหลักการในการปฏิบัติที่นำไปสู่การสร้างพฤติกรรมของแต่ละบุคคล
หลักจริยศาสตร์ที่จำเป็นสำหรับครูได้แก่
การเคารพในตัวผู้เรียนและการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้เรียน
ปฏิบัติด้วย
ความเป็นธรรม
การเคารพในตัวผู้เรียน
เคารพความแตกต่าง
ระหว่างผู้เรียน ทั้งเพศ สถานภาพทางสังคม วัฒนธรรม ชาติพันธ์ ศาสนา
ไม่เลือกปฏิบัติ
ความไว้ใจได้
เป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดในการสร้างความไว้วางใจระหว่างครูและผู้เรียน
แต่อาจจะเปิดเผยเผย ข้อมูล หรือความลับได้ เมื่ออยู่ใน
สถานการณ์ที่อันตราย
หรือ
สถานการณ์ทางกฏหมาย
เช่นการให้การต่อศาลเป็นต้น
ให้คำปรึกษาที่ห้องพักครู หรือในพื้นที่ส่วนตัว
หมายถึง
การไม่เปิดเผยสิ่งที่ครูได้รับรู้มาจากผู้ให้คำปรึกษา
การดูแลเอาใจใส่
ดูแลเอาใจใส่ผู้เรียนตามความสามารถของครู
หากครูยังขากประสบการณ์ที่เพียงพอที่จะรับมือเองได้ ก็สามารถ
ขอความช่วยเหลือ
จากครูที่มีประสบการณ์มากกว่า ผู้เชี่ยวชาญ หรือหน่อยงานที่ภายนอก เช่น นักจิตวิทยา ตำรวจ เป็นต้น
การเตรียมการให้คำปรึกษา
ครูต้องมีทักษะในการให้คำปรึกษาดังแผนภูมิต่อไปนี้
ทักษะที่จำเป็นในการให้คำปรึกษา
ศิลปะในการเอาใจใส่
ความหมายการเอาใจใส่
ความเอาใจใส่
คือความสามารถในการสื่อให้ผู้เรียนรับรู้ถึงความเข้าใจที่ครูมีต่อพวกเขาซึ่งรวมถึงการแปลงความเข้าใจในพฤติกรรมประสบการณ์และความรู้สึกของพวกเขาให้เป็นการตอบสนองที่ครูให้กับผู้เรียนได้เมื่อครูรู้แล้วว่าผู้เรียนต้องการสื่อถึงอะไร
การตอบแบบพื้นฐาน
แสดงให้เห็นเห็นถึงความรู้สึกของผู้เรียนในอารมณ์ที่แตกต่างกันไป
แสดงให้เห็นถึงประสบการณ์และพฤติกรรมของผู้เรียน
ตั้งใจฟังผู้เรียนตลอดเวลา
ผู้เรียนจะพยักหน้าเมื่อคำตอบของครูนั้นถูกต้อง
ถ้าครูไม่เข้าใจก็อย่าแสร้งว่าเข้าใจ ครูควรพูดว่า "ครูยังไม่เข้าใจที่เธอพูดน่ะ ช่วยอธิบายให้ครูฟังอีกที"
สิ่งที่ไม่ควรทำ
คือ การตอบที่แย่การใช้สำนวน ซ่้ำซาก จำเจ หรือการตีความสิ่งที่ผู้เรียนต้องการบอกเล่าอย่างไม่เหมาะสม
ศิลปะในการสืบสวนเรื่องราว
การใช้ข้อความสั้นๆ
ใช้วลีสั้นๆที่ช่วยให้การคำปรึกษาดำเนินไปอย่างราบรื่น
การตั้งคำถาม
ใช้คำถามอย่ามากจนเกินไปเพราะผู้เรียนจะรู้สึกว่าตนกำลังถูกสอบสวน
ใช้คำถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และประโยชน์ต่อการให้คำปรึกษา
ไม่ถามในสิ่งที่ไม่จำเป็นต้องรู้และไม่เกี่ยวข้องกับปัญหา
การใช้ข้อความ
เช่น กล่าวว่าครูเข้าใจว่าเธอกำลังโกรธมากครูพอจะทราบว่ามันเป็นเรื่องอะไรแต่บางทีอาจคิดผิดไปบางทีเธอน่าจะบอกให้ครูฟังได้นะ
2.ทักษะในการเป็นผู้ฟังที่ดี
ความหมายของการฟัง
การฟัง
คือความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาในการจับใจความและทำความเข้าใจกับข้อความที่ผู้เรียนต้องการสื่อสารได้
องค์ประกอบของผู้ฟังที่ดี
2.ฟังและทำความเข้าใจกับข้อความที่ผู้เรียนต้องการสื่อ
สิ่งที่ผู้เรียนอธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรม
ประสบการณ์
ความรู้สึก
การฟังและทำความเข้าใจกับตัวผู้เรียนจะสังคมแวดล้อมของพวกเขา
การฟัง
หมายถึงการรับฟังผู้เรียนในบริบทของสังคมและล้อมของพวกเขาไม่ว่าจะเป็นครอบครัวห้องเรียนโรงเรียนหรือแม้กระทั่งเพื่อนบ้าน
สิ่งสำคัญคือการรับฟังผู้เรียนพูดและทำความเข้าใจว่าพวกเขา เป็นใคร มาจากไหน
1.สังเกตและทำความเข้าใจกับพฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจาของผู้เรียน
ลักษณะทางกายภาพ
พฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจา
การตอบสนองทางร่างกายที่สังเกตได้
4.การท้าทายความคิดเห็นที่บิดเบือน
ความรู้สึกของผู้เรียนเกี่ยวกับตนเอง ผู้อื่น และโลก ความรู้สึกเหล่านี้อาจบิดเบือนได้ ดังนั้นครูจะต้องค่อยๆ เรียนรู้ที่จะสังเกตุช่องว่างและการบิดเบือนนั้นในเวลาที่เหมาะสม
1.ทักษะในการมีส่วนร่วม
ความหมายการมีส่วนร่วม
คือ การที่ครู ร่วมมือกับผู้เรียนทั้งทางกายภาพและทางจิตวิทยา การมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพจะเป็นสัญญาณบ่งบอกให้ผู้เรียนรู้ว่าครูเข้าใจพวกเขาและพร้อมจะรับฟังปัญหาของพวกเขาอย่างตั้งใจ
ทักษะการมีส่วนร่วม
การใช้ท่าทางที่เปิดเผย
การสื่อสารทางสายตา
การเผชิญหน้ากับผู้เรียน
สงบผ่อนคลายและเป็นธรรมชาติ
การโน้มตัวเข้าหาผู้เรียน
การช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักท้าทายกันเอง
หากการทักทายประสบความสำเร็จผู้เรียนจะสามารถเติมเต็มข้อบกพร่องของตนเองได้ด้วยมุมมองใหม่ๆ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
การท้าทายความแตกต่างและความบิดเบือน ผู้เรียนบางคนบิดเบือนความเป็นจริงไปในหลายรูปแบบด้วยกัน ดังนั้นครูในฐานะผู้ให้คำปรึกษาควรบอกให้ผู้เรียนปล่อยอดีตให้ผ่านไปและหันมาสนใจกับปัจจุบันและอนาคตแทน
ความท้าทายคือการสำรวจความคิดและความประพฤติที่ไม่เป็นผลดีต่อตนเองหรือเป็นอันตรายต่อผู้อื่นพร้อมทั้งเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้น
การท้าทายให้ผู้เรียนรู้ว่าปัญหาของพวกเขานั้นสามารถแก้ไขได้ครูจึงต้องช่วยชี้ทางสว่างให้ผู้เรียนรู้สึกว่าปัญหาของเขาแก้ปัญหาได้