Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การให้สารทางหลอดเลือดดำ, 13, 640px-Venipuncture_using_a_BD…
บทที่ 9 การให้สารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
เพื่อแก้ไขภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโทรไลด์ที่สูญเสียไป อย่างรวดเร็ว เช่น อุจจาระร่วง
เพื่อดูแลป้องกันภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโทรไลด์ เช่น ผู้ป่วยงดน้ำและอาหารทาง
ปากก่อนหรือหลังผ่าตัด
เพื่อรักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรด - ด่างในร่างกาย
บทบาทของพยาบาลในการให้สารน้ำ
ยึดหลักอย่างเคร่งครัด
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำที่ให้ จำนวน วันหมดอายุ ลักษณะของสารละลาย ตรวจสอบความเรียบร้อยของถุงหรือขวดสารน้ำไม่อยู่ในสภาพที่ชำรุดเสียหาย
เลือก ชนิดของชุดให้สารน้ำ และ/หรือเครื่องควบคุมปรับหยดการให้สารน้ำ (Infusion pump)
ให้เหมาะสมตามแผนการรักษาของแพทย์
เลือกตำแหน่งหลอดเลือดด้าที่จะแทงเข็มให้ถูกต้องเหมาะสม
ควบคุมอัตราการหยดของสารน้ำให้ถูกต้องตามขนาดและเวลาตามแผนการรักษาของแพทย์
ทำความสะอาดบริเวณตำแหน่งที่แทงเข็ม
จดบันทึกปริมาณสารน้ำที่เข้าและขับออกจากร่างกาย
ชนิดและขนาดของสารน้ำของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Isotonic solution ความเข้มข้นของสารน้ำจะเท่ากับน้ำนอกเซลล์ มีออสโมลาริตี ระหว่าง 275-295 m0sm/l เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำเข้าหรือออก จากเซลล์
Hypertonic Solution สารละลายชนิดที่มีแรงดันออสโมติกมากกว่า Blood serum ( > 295 mOsm/l) ผลทำให้น้ำออกนอกเซลล์ มาอยู่ใน Intravascular compartment
Hypotonic Solution สารละลายชนิดนี มีความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์ เป็นครึ่งหนึ่งของ สารละลาย Isotonic มีแรงดันออสโมติกน้อยกว่า Blood serumเข้าสู่เซลล์ ซึ่งมีผลทำให้เซลล์ขยายตัว และบวม เซลล์แตกได้
ต้าแหน่งหลอดเลือดด้าที่ใช้แทง (Venipuncture sites)
ต้าแหน่งหลอดเลือดที่เหมาะสมและ
ดีส้าหรับการให้สารน้ำคือ หลอดเลือดดำ บริเวณท้องแขน ( Accessory vein
หลอดเลือดด้าบริเวณหลังมือและแขน
( Dorsal venous
network ,Cephalic vein, Basilic vein , Dorsal metacarpal vein)
ข้อปฏิบัติในการเลือกหลอดเลือดดำส้าหรับให้สารน้ำ
เลือกหลอดเลือดด้าของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำกิจวัตรต่างๆได้ด้วยตนเอง
ตรวจสอบบริเวณต้าแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผล หรือแผลไหม้ที่
ทำให้หลอดเลือดถูกทำลาย
ไม่ควรใช้ Antecubital vein ถ้ายังมีหลอดเลือดอื่นที่พอจะหาได้เพราะการงอแขนของผู้ป่วย
จะท้าให้ IV catheter เลื่อน
ไม่ควรใช้หลอดเลือดที่ขาเนื่องจากอาจเกิดอันตรายการไหลเวียนของเลือดไม่ดีได้ง่าย
ไม่ใช้หลอดเลือดด้าบริเวณที่ได้รับการผ่าตัด เนื่องจากบริเวณนี้ หลอดเลือดดำถูกรบกวนจากการได้รับการผ่าตัด
การเตรียมอุปกรณ์สำหรับให้สารน้ำ
ชุดให้สารน ้า (IV infusion set) ชุดให้สารน ้าถูกท้าให้ปลอดเชื อบรรจุอยู่ถุงพลาสติก
ชนิดของชุดให้สารน้ำ 2.1 ชุดให้สารน ้าชนิดหยดใหญ่ (Macrodrip) 2.2 ชุดให้สารน ้าชนิดหยดเล็ก (Microdrip 2.3 ชุดให้สารน ้าชนิดควบคุมปริมาตร(Volume controlled set (Solu set))
เข็มแทงหลอดเลือดดำ .1 Butterfly needle เข็มรูปปีกผีเสื้อ 2 IV Catheter เป็นท่อพลาสติก 4. หัวต่อชนิด3 ทาง (3 –way stopcock) ในการให้สารน ้าทางหลอดเลือดด้ามากกว่าหนึ่ง
สายรัดแขน (Tourniquet) 6. ถุงมือสะอาด (disposable gloves) 7. เสาแขวนถุง/ขวดสารน ้า (IV pole) 8. อุปกรณ์อื่นๆ คือ ส้าลีปลอดเชื อ แอลกอฮอล์ 70%
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำ
บวมตรงตำแหน่งที่แทงเข็มให้สารน้ำเกิดจากการมีสารน้ำออกนอกหลอดเลือดดำ การพยาบาล ให้เปลี่ยนต้าแหน่งที่แทงเข็มใหม่ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าล้าตัวผู้ป่วยประคบบริเวณที่บวมด้วยความร้อน
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis) เกิดจากการระคายเคืองและบอบช้ำของหลอดเลือด การพยาบาล เปลี่ยนต่ำแหน่งที่แทงเข็มใหม่ ประคบด้วยความเย็นสลับร้อนหรือแพทย์อาจให้ยาทาเพื่อลดความเจ็บปวดและการอักเสบ
ฟองอากาศเข้าไปอยู่ในหลอดเลือด (Air embolism) เกิดจากการไล่ฟองอากาศออกจากสายให้สารน้ำไม่หมด การพยาบาล หยุดการให้สารน้ำจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้าย ศีรษะต่ำ
การมีสารน้ำมากกว่าปกติในระบบหลอดเลือด (Circulatory overload) เกิดจากการให้สารน้ำมีอัตราหยดเร็วเกินไป การพยาบาล ปรับอัตราหยดลดลงจัดท่านอนให้ศีรษะสูงรายงานแพทย์
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia ) การพยาบาล หยุดให้สารน้ำทันที รายงานแพทย์ ตรวจสอบสัญญาณชีพ ส่งตรวจเลือด
การเตรียมขวดสารน้ำและการควบคุมอัตราหยดของสารน้ำ
พยาบาลมีหน้าที่รับผิดชอบในการให้สารน้ำให้ถูกต้องตามแผนการรักษาและควบคุมอัตราการไหล ของสารน้ำตามจำนวนและเวลาตามที่แพทย์สั่งการรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบายและปลอดภัย
พยาบาลต้อง
ค้านวณปริมาณของสารน้ำต่อชั่วโมงและอัตราการหยดของสารน้ำต่อนาทีการคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำต่อนาที โดยค้านวณจากอัตราหยดของสารน้ำ (Drop factor) ที่เท่ากับ1 มิลลิลิตร